ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มะพร้าว) 1.หนอนหัวดำมะพร้าวสุ่มนับทางใบที่เขียวสมบูรณ์ แยกระดับความรุนแรงน้อย = ใบเขียวสมบูรณ์ 13 ทางใบขึ้นไปปานกลาง = ใบเขียวสมบูรณ์ 6-13 ทางใบรุนแรง = ใบเขียวสมบูรณ์ น้อยกว่า 6 ทางใบ 2.แมลงดำหนามมะพร้าวสุ่มนับใบยอดที่ถูกทำลาย แยกตามระดับความรุนแรงน้อย = ใบยอดถูกทำลาย 1-5

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มันสำปะหลัง) 1.โรคใบด่างมันสำปะหลัง กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง กระจายทั่วแปลง ให้ถือว่าพื้นที่ระบาดเท่ากับพื้นที่ปลูก กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง เป็นหย่อมหรือบริเวณมุมใดมุมหนึ่งของแปลงให้แบ่งขอบเขตแปลงในบริเวณที่เป็นโรค ในรัศมี 20 เมตร จากจุดที่เป็นโรค แล้วจึงคิดเป็นสัดส่วนเทียบกับพื้นที่ปลูก 2.เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังให้สำรวจอย่างน้อย 10 จุดสำรวจ จุดละ 1

มวนยุงในฝรั่ง

มวนยุงในฝรั่ง เชื้อสาเหตุ : Helopeltis theivora มวนยุง หรือ มวนยุงชา หรือ มวนโกโก้ อยู่ในวงศ์ Miridae อันดับ Hemiptera เป็นแมลงศัตรู สำคัญของพืชหลายชนิด เช่น ชา โกโก้ อะโวกาโด้ มะม่วงหิมพานต์ เป็นแมลงชนิดปากดูด

โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน เชื้อสาเหตุ : Phytophthora palmivora ลักษณะการทำลาย อาการที่กิ่งและที่ลำต้นหรือโคนต้นระยะแรกจะแสดงอาการใบเหลืองเป็นบางกิ่ง สังเกตเห็นคล้ายคราบน้ำบนผิวเปลือกของกิ่งหรือต้น ในช่วงเช้าที่มีอากาศชื้นอาจเห็นเป็นหยดของเหลวสีน้ำตาลแดงออกมาจากบริเวณแผล และจะค่อย ๆ แห้งไปในช่วงที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบ เมื่อใช้มีดถากบริเวณคราบนั้น จะพบเนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล ถ้าแผลขยายใหญ่ลุกลามจนรอบโคนต้น จะทำให้ทุเรียนใบร่วงจนหมดต้น และยืนต้นแห้งตาย อาการที่รากเริ่มแรกจะเห็นใบที่ปลายกิ่งมีสีซีด ไม่เป็นมันเงา เหี่ยวลู่ลง เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น

หนอนชอนใบมังคุด

หนอนชอนใบมังคุด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acrocercops sp. และ Phyllocnistis sp. ลักษณะการทำลายAcrocercops sp. ทำลายใบอ่อนที่มีอายุมาก โดยตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชกัดกินและขับถ่าย อยู่ในระหว่างผิวใบ รอยทำลายมีลักษณะแผ่กว้างเป็นแผ่นสีดำ เนื่องจากเนื้อเยื่อระหว่างผิวใบตรงส่วนนั้นถูกทำลาย Phyllocnistis sp. ทำลายใบอ่อนมังคุดที่มีอายุน้อย พบการระบาดรุนแรงมากในช่วงที่มังคุดแตกใบอ่อน ตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชเป็นทางยาว หรือสร้างเป็นอุโมงค์กัดกินและขับถ่ายอยู่ภายในรอยทำลายของหนอนชอนใบ ใบมังคุดที่ถูกทำลายจะแสดงลักษณะแคระแกร็นบิดเบี้ยว

ตัวอ่อนด้วงดิน

ด้วงดิน (ground beetles) อยู่ในวงศ์ Carabidae ทั้งระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัยอาศัยอยู่ตามพื้นดิน ตัวเต็มวัยบางชนิดสามารถไต่ขึ้นบนต้นพืช เพื่อไปกัดกินศัตรูพืชได้ โดยเกือบทั้งหมดเป็นแมลงตัวห้ำทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัยทำลายหนอน ดักแด้ผีเสื้อศัตรูพืช ไข่แมลง มักหากินตอนกลางคืน ตัวอ่อนด้วงดินตัวนี้เจอบ่อยในแปลงข้าวโพดที่มีหนอนกระทู้ข้าวโพดนะบาด ถ้าเจออย่าตกใจ เค้าช่วยกินหนอนให้เรานะคะ ภาพจาก : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี

เป็นโรคพืชที่พบการระบาดมากในช่วงอากาศเย็น ความชื้นสูง และฝนตกชุก เนื่องจากเชื้อราสาเหตุโรคสามารถแพร่ระบาดได้ดีโดย ลม น้ำฝน เครื่องมือทางการเกษตร การเคลื่อนย้ายพืชปลูก และจะเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ความชื้นในแปลงสูง หากเข้าทำลายพืชปลูกจะสร้างความเสียหายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต จะทำให้ผลผลิตพืชลดลง รวมถึงขนาดและคุณภาพลดลง หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น นอกจากนี้โรคราน้ำค้างยังสามารถเข้าทำลายพืชได้หลายชนิด เช่น พืชตระกูลแตง พืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด และข้าวโพด เป็นต้น ส่วนข้อสังเกตของโรคราน้ำค้าง พบว่าในช่วงเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นและมีความชื้นสูง

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำหนังสือใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำเอกสารใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 865 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

โควตาพิเศษสำหรับบุตร-หลานเกษตรกรและยุวเกษตรกร เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะเกษตร กำแพงแสน พร้อมทุนการศึกษากว่า 200 ทุน

โควตาพิเศษสำหรับบุตร-หลานเกษตรกรและยุวเกษตรกร เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะเกษตร กำแพงแสน พร้อมทุนการศึกษากว่า 200 ทุน

โควตาพิเศษสำหรับบุตร-หลานเกษตรกรและยุวเกษตรกร เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะเกษตร กำแพงแสน พร้อมทุนการศึกษากว่า 200 ทุน – วท.บ. (เกษตรศาสตร์) – วท.บ. (สัตวศาสตร์) – วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร) – วท.บ. (เครื่องจักรกลและเมคคาทรอนิกส์เกษตร) สอบถามรายละเอียดการรับสมัคร สมัครเรียน คณะเกษตร กำแพงแสนwww.agri.kps.ku.ac.th

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร ระหว่างวันที่ 2 – 6 ต.ค. 2567

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร ระหว่างวันที่ 2 - 6 ต.ค. 2567

พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร ระหว่างวันที่ 2 – 6 ต.ค. 2567 ประเทศไทยตอนบนจะมีฝนตกหนัก – หนักมาก บริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยควรระวังอันตรายจากสภาวะน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น YOUNG SMART FARMER ปี 2568

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น YOUNG SMART FARMER ปี 2568

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น YOUNG SMART FARMER ปี 2568 สำนักงานเกษตรอำเภอตะพานหิน ประชาสัมพันธ์การรับสมัครบุคคลที่มีอายุระหว่าง 17-45 ปี ประกอบอาชีพทางการเกษตรเข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer ประจำปี 2568 ตั้งแต่วันนี้ ถึง 30 พฤศจิกายน 2567 ได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอตะพานหิน ก่อนอื่นเรามารู้จักกันก่อนว่า Young Smart Farmer (YSF) คือใคร Young Smart Farmer คือ เกษตรกรรุ่นใหม่ ที่ผ่านการประเมินคุณสมบัติ โดยมีการบริหารการเกษตรด้วยเทคโนโลยีใหม่ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีนวัตกรรมในการเกษตร ผู้ที่จะเป็น Young Smart Farmer ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ คุณสมบัติผู้สมัคร เอกสารประกอบการสมัคร รับสมัครรับสมัครตั้งแต่ บัดนี้ – 30 พฤศจิกายน 2567 ณ สำนักงานเกษตรอำเภอใกล้บ้าน หรือ สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร ที่มา : สนง.เกษตรอำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

แนะนำนิตยสาร เดือนกันยายน 2567

แนะนำนิตยสาร เดือนกันยายน 2567

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำนิตยสาร เดือนกันยายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th