ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

คำแนะนำการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช หนอนกระทู้หอมในมันสำปะหลัง เลือกใช้สารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่ง และต้องสำรวจแปลงหลังพ่นสารเคมีแล้ว 1-2 วัน หากพบหนอนระบาดอยู่ให้พ้นซ้ำ และควรสลับกลุ่มสารเคมี เพื่อป้องกันการดื้อยา จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย (กอป.) กรมส่งเสริมการเกษตร

“ลิ้นจี่จักรพรรดิฝาง” ขึ้นทะเบียนสินค้า GI จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอฝางเป็นแหล่งปลูกลิ้นจี่คุณภาพแหล่งใหญ่ มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 20,000 ไร่พันธุ์ที่ปลูกได้แก่ ฮงฮวย จักรพรรดิ์ฯ มีลักษณะเฉพาะถิ่น คือ ผลกลมโต สีแดงเข้ม ทรงผลรูปหัวใจ เนื้อหนามีสีขาว ฉ่ำน้ำ รสหวาน กลิ่นหอม ลิ้นจี่จักรพรรดิ ที่มีพื้นที่ปลูกมากใน

แมลงหวี่ขาวข้าว

แมลงหวี่ขาวข้าว (Rice Whitefly) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aleurocybotus indicus เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย (กอป.) กรมส่งเสริมการเกษตร

แนะนำหนังสือใหม่ เดือนกรกฎาคม 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

รอบรู้เรื่อง “น้ำส้มควันไม้” เพื่อใช้ในด้านการเกษตร น้ำส้มควันไม้ หรือ น้ำวู้ดเวเนการ์ (Wood vinegar)ซึ่งในการเลือก เก็บผลผลิตควันไม้นี้ เจ้าของเราสามารถตรวจสอบได้จากเทอร์โมมิเตอร์ที่วัดอุณหภูมิที่บริเวณปากปล่องควันตามมาตรฐาน ถ้าเกษตรกรไม่มีเทอร์โมมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิ ให้ใช้วิธีสังเกตควันแทน และควรเก็บผลผลิตน้ำส้มควันไม้ได้ในช่วงอุณหภูมิที่ปากปล่องระหว่าง 80 องศาเซลเซียส ถึง 150 องศาเซลเซียส ซึ่งอุณหภูมิภายในตัวเตาเผาจะเท่ากับ 300-400 องศาเซลเซียส และเป็นช่วงที่ผลผลิตจะมีคุณภาพที่ดีที่สุด

การสรรหาปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ปี 2568 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เห็นสมควรยกย่องและเชิดชูเกียรติแก่ผู้ทรงภูมิปัญญาด้านการเกษตรในสาขาต่าง ๆ ซึ่งเป็นผู้มีคุณความดี มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์สมควรเป็นปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน ให้ได้รับการดูแลด้านสวัสดิการและสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ และความสามารถสู่สังคม ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน 4 สาขา

การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร มีขั้นตอน ระยะเวลา และส่วนงานที่รับผิดชอบ ดังนี้ รวมระยะเวลา 40 วันทำการสามารถดาวน์โหลดคู่มือประชาชน: การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรhttp://www.nonthaburi.doae.go.th/People-Guide.html

กล้วยนาก

กล้วยนาก คุณสมบัติที่โดดเด่นของพันธุ์พืช คือ เปลือกกล้วยสีออกสีนาก คือสีอมแดงค่อนข้างคล้ำ เนื้อผลสุกมีรสชาติคล้ายกล้วยหอม อมเปรี้ยวเล็กน้อย  ที่มา : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ สี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ภายในงานมีการออกบูธจากหน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 14 มิถุนายน 2567 ณ โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร อย่าลืม!!!! นำบัตรประชาชนมาด้วยนะคะ….แวะมาชิมช้อปสินค้าจากเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนกันค่ะ… สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหานคร

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน”

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ "เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน"

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน” ฤดูฝนมาเเล้ววว เกษตรกรที่ต้องการเพาะปลูกพืชผักในช่วงนี้ จำเป็นต้องเลือกชนิดผักให้เหมาะสมกับฤดู เช่น กวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ถั่วฝักยาว ฟักทอง มะระ บวบ พริก มะเขือฯ และจำเป็นที่จะต้องระวังเรื่องโรคพืชที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน กับ 3 เอกสารแนะนำ ดังนี้ ปลูกและดูแลพืชผักอย่างไรให้รอดในช่วงฤดูฝนคลิกอ่าน : https://bit.ly/3OZ6DRC 7 เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝนคลิกอ่าน : https://bit.ly/4bLVD4c 5 โรคพืชหน้าฝนคลิกอ่าน : https://bit.ly/3VsYiKG สามารถเข้าดูเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ >> https://bit.ly/4dEoSHO

กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนจังหวัดตราด

กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนจังหวัดตราด

อบรมฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่ายเชิญชวนเกษตรกรผู้สนใจอบรมโครงการพัฒนาและยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรแบบครบวงจร ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนจังหวัดตราดโดยวิทยากรผู้มีประสบการณ์ ” ดร. พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล” ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 0 3959 7229