ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เมื่อไม่ให้เผา…เราทำอย่างไร?? 9 ทางเลือกสู่ทางรอด 1.ผลิตปุ๋ยหมักนำเศษวัสดุการเกษตรที่เหลือใช้ทำปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก 2.วัสดุอัดก้อนจัดเก็บง่าย มีรายได้เสริม จำหน่ายได้ตลอดปี 3.ไถกลบตอซังทำลายไข่แมลง เชื้อโรคในดิน เพิ่มประสิทธิภาพการดูดธาตุอาหารและลดปัญหาวัชพืช 4.อาหารสัตว์เป็นอาหารเสริมให้โคกระบือ ลดต้นทุนอาหารสัตว์ 5.เพาะเห็ดมีอาหาร สร้างรายได้ 6.พลังงานทดแทนมีรายได้เสริม จากถ่านลดต้นทุนเชื้อเพลิง 7.วัสดุคลุมดินรักษาความชื้นของดิน ลดการชะล้างผิวหน้าดิน เมื่อวัสดุคลุมดินสลายตัว จะได้อินทรีย์วัตถุบำรุงดิน 8.แปรรูปเพิ่มมูลค่านำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

เฝ้าระวังโรคและแมลงศัตรูพืชในไม้ผลช่วงอากาศหนาว ลิ้นจี่ ลำไย มะม่วง พยากรณ์อากาศภาคเหนือช่วงเดือน ม.ค.-ก.พ. 2568 ในช่วงกลางเดือนมกราคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ บริเวณภาคเหนือตอนบนมีความกดอากาศสูง หรือมวลอากาศเย็นกำลังแรงที่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอุณหภูมิลดลงกับมีลมแรง ระยะนี้จะมีอากาศเย็นถึงหนาว และความชื้นในอากาศยังคงมีสูง เกษตรกรควรระวังและป้องกันการระบาดของโรคราสนิม ราดำราแป้งและเพลี้ยแป้ง การจัดการและแนวทางป้องกัน การตรวจสอบและเฝ้าระวัง : ควรตรวจสอบพืชอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้สามารถพบการระบาดของโรคหรือแมลงตั้งแต่ระยะแรก ซึ่งจะช่วยลดความเสียหาย การป้องกันโดยวิธีธรรมชาติ :

เกษตรกร โปรดทราบ! ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง มาตรการบริหารจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ภาคการเกษตร ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2568 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568) กรมส่งเสริมการเกษตร ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเผาในพื้นที่เกษตรกรรมในทุกจังหวัดอย่างเข้มงวด ขอความร่วมมือเกษตรกรทุกจังหวัดทำการเกษตรแบบปลอดการเผา

กล้วยน้ำว้าเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุ์สุโขทัย 1 คุณค่าทางโภชนาการ ต่อกล้วยน้ำว้า 100 กรัม วิธีการปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักในเดือนแรกอัตรา 1 กิโลกรัม/ต้น เดือนที่ 3 และเดือนที่ 6 อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ต้น การไว้หน่อ หลังจากปลูกกล้วย

เกษตรกรไทยร่วมใจหยุดเผาในพื้นที่การเกษตรอย่างยั่งยืน ด้วย 3R Model : 3 เปลี่ยน 1.เปลี่ยนพฤติกรรม Re-Habitปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกพืชชนิดเดิมแบบไม่เผา โดยการนำเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการเก็บเกี่ยวและส่งเสริมการแปรรูปเพิ่มมูลค่าเศษวัสดุทางการเกษตร เพื่อลดการเผา 2.เปลี่ยนชนิดพืช Replace with High Value Cropsปรับเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูกบนพื้นที่สูง จากพืชไร่เป็นไม้ผล พืชเศรษฐกิจแบบผสมผสานที่มีมูลค่าสูง เช่น กาแฟ อะโวคาโด

“14 กุมภา วันวาเลนไทน์ ดอกไม้แทนใจ” วันที่ 14 กุมภาพันธ์ วันวาเลนไทน์ กรมส่งเสริมการเกษตรมีความหมายดี ๆ ของดอกไม้แทนใจ มาฝากพร้อมกับ 4 เมนูที่สามารถทำได้ในช่วงวันวาเลนไทน์ค่ะ 14 กุมภาวันวาเลนไทน์ ดอกไม้แทนใจความหมายดี ๆคลิกอ่าน : https://bit.ly/4jID4T7 4 เมนูฮิตสุดปัง

4 เมนูฮิตสุดปัง ต้อนรับ Valentine’s Day ทางเลือกการสร้างรายได้เพิ่มให้เกษตรกร แยมกุหลาบ ส่วนผสม ดอกกุหลาบ 500 กรัม เลม่อน 2 ผล น้ำเปล่า 1 ลิตร น้ำตาลทราย 500 กรัม แพคติน 1

นายยุทธพงษ์ รัตนวิทย์ เกษตรกรต้นแบบ ได้นำเทคโนโลยีทางการเกษตรมาใช้ เช่น โรงเรือนปลูกพืชและระบบน้ำ มีการวางระบบน้ำในแปลงปลูกพืชผัก เช่น ระบบน้ำหยดและมินิสปริงเกอร์ และระบบการให้น้ำอัจฉริยะ (Handy Sense) มาใช้ในโรงเรือนปลูกผัก สามารถประหยัดเวลาในการให้น้ำ เพิ่มความแม่นยำในการควบคุมปริมาณน้ำให้แก่พืชผัก ทำให้มีการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพสูง และสามารถเพาะปลูกได้ตลอดปี สามารถกำหนดปริมาณน้ำให้เหมาะสมและเพียงพอ ตามชนิดพืชที่ปลูกได้ เมื่อพืชได้รับสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมจะช่วยให้ผลผลิตสม่ำเสมอ เกษตรกรได้ใช้งานเทคโนโลยีสมัยใหม่ในราคาที่จับต้องได้จากการติดตั้งใช้งานจริงและพิสูจน์แล้วว่า Handy

ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P) ในแต่ละชนิด 18-46-0 แม่ปุ๋ย DAP (ไดแอมโมเนียมฟอสเฟส) มีธาตุอาหารในรูปแอมโมเนียม-ไนโตรเจน 18% และมีฟอสฟอรัสในรูปของ phosphorus pentoxide 46% เป็นแม่ปุ๋ยที่นิยมใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผสมและผลิตปุ๋ย มีคุณสมบัติช่วยเร่งการเจริญเติบโตได้ตั้งแต่ระยะต้นกล้า ช่วยในการเร่งการแตกราก และช่วยบำรุงต้น ส่วนใหญ่จะนิยมใช้กับไม้ดอก ในช่วงระยะการเร่งออกดอก บำรุงดอก ช่วยให้ดอกสมบูรณ์แข็งแรง เกสรสมบูรณ์

รายการสื่อที่ให้บริการ
รายการสื่อที่ให้บริการ

รายชื่อแผ่นพับที่ให้บริการ

  1. การพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีและเครือข่ายในงานส่งเสริมการเกษตร 
  2. พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
  3. การสร้างความมั่นคงด้านอาหารของกรมส่งเสริมการเกษตร 
  4. การปรับตัวของเกษตรกรในสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง
  5. การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งหลังนา
  6. การปลูกบัว
  7. ฉลากและบรรจุภัณฑ์อาหาร
  8. การจัดทำแผนประกอบการวิสาหกิจชุมชน
  9. การทำสวนไม้ผลเขตร้อนขั้นพื้นฐาน
  10. ไม้ประดับในอาคาร
  11. การจัดการศัตรูมะม่วงด้วยวิธีอบไอน้ำ
  12. การให้น้ำในสวนปาล์มน้ำมัน
  13. การปฏิบัติดูแลสวนไม้ผลแบบยกร่องในระหว่างถูกน้ำท่วมขัง
  14. เทคนิคที่สำคัญในการผลิตสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ
  15. การปลูกเผือก 
  16. การผลิตเงาะนอกฤดู
  17. การผลิตลองกองนอกฤดู
  18. การผลิตมังคุดนอกฤดู
  19. การฟื้นฟูแปลงและการปลูกผักหลังน้ำลด
  20. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผึ้ง
  21. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
  22. การปลูกพืชไร่หลังนา
  23. มันแกว
  24. เผือกหอม
  25. ถั่วลันเตา
  26. การฟื้นฟูดอกไม้ประดับหลังประสบอุทกภัย
  27. เทคนิคที่สำคัญในการผลิตสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ
รายการสื่อที่ให้บริการ

รายชื่อเอกสารที่ให้บริการ

  1. การจัดการไร่นา 
  2. การแปรรูปผัก ผลไม้ เพื่อเพิ่มมูลค่า 
  3. เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตรในการเตรียมดินที่ดีเพื่อลดการเกิดวัชพืช 
  4. การป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูมันสำปะหลัง
  5. ถอดบทเรียนเกษตรกรดีเด่น สาขาอาชีพไร่นาสวนผสม ประจำปี 2561
  6. การวินิจฉัยศัตรูพืช (ยางพารา)
  7. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  8. ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
  9. เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ
  10. การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า…ในการปลูกพืชผักและพืชสมุนไพร
  11. แก้วมังกร
  12. ผลิตภัณฑ์ลำไย
  13. มะเขือม่วง
  14. มะม่วง
  15. การปลูกถั่วเหลืองในฤดูแล้ง
  16. การแปรรูปอาหารโปรตีนจากพืช