ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

มะนาวแป้นพิจิตร 1 ลักษณะเด่นผสมพันธุ์ขึ้นใหม่ โดยนักวิชาการไทยจากศูนย์วิจัยพืชสวน ซึ่งใช้มะนาวแป้นรำไพเป็นแม่พันธุ์ผสมกับมะนาวน้ำหอม ลักษณะเด่นคือทนต่อโรคแคงเกอร์ได้ดี ปลูกง่าย ต้นเตี้ย ติดดอก ติดผลตลอดปี ติดผลเป็นพวง พวงละ 3-5 ผล ผลดก ผลใหญ่ ผิวสวย น้ำมาก น้ำมีกลิ่นหอม รสเปรี้ยวจัด จึงนิยมปลูกอย่างแพร่หลาย ลักษณะต้นเป็นไม้พุ่มสูง

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 1,750 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดกิจกรรมสัมมนาให้ความรู้เรื่องการลดการเผาตอซังข้าวและวัสดุทางการเกษตร

แมกนีเซียม (Mg) กับการเจริญเติบโตของพืช เป็นธาตุที่มีส่วนสำคัญของคลอโรฟิลล์ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสังเคราะห์แสง และเป็นธาตุที่สามารถเคลื่อนย้ายในพืชได้ คลอโรฟิลล์ในพืชมีความคล้ายกับฮีโมโกลบินในเลือดมนุษย์ โดยคลอโรฟิลล์ประกอบด้วย ธาตุแมกนีเซียม (Mg) ส่วนฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็ก (Fe) เป็นส่วนสำคัญ หน้าที่ การขาดแมกนีเซียมในพืช พบที่ใบแก่ อาการเส้นสีเหลืองระหว่างใบ การแก้ปัญหาอาการขาดธาตุแมกนีเซียมในพืช ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การปลูกข้าวแบบนาดำ หมายถึง การทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ก่อน เรียกว่า การเพาะกล้า เมื่อได้ขนาดตามที่ต้องการ จะถอนต้นกล้าไปปักดำในพื้นที่นาที่เตรียมไว้ แต่ข้อเสียวิธีนี้ ต้องใช้แรงงานมาก ประโยชน์ของนาดำ ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว

สมบัติของดินที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช สมบัติของดินทั้ง 3 ด้าน มีการเกื้อหนุนกันเป็นวัฏจักร ดินมีโครงสร้างที่ดี ส่งผลให้มีสมบัติทางเคมีที่ดี โดยเฉพาะการจัดเก็บธาตุอาหารไว้ให้พืชและสิ่งมีชีวิตในดิน ยังช่วยเกื้อหนุนสมบัติของดินให้ดี สุดท้ายจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่ดีของพืช ดังนั้น หากดินมีปัญหาด้านใด ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข และต้องทำก่อนใส่ปุ๋ย เพื่อให้การใช้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพ กายภาพ เคมี ชีวภาพ ที่มา : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

สมุนไพรไล่แมลง สารสกัดเมล็ดสะเดา ประโยชน์ของเมล็ดสะเดา สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก

หนอนคืบกินใบเงาะ ชื่อวิทยาศาสตร์ Oxyodes scrobiculata (Fabricius) รูปร่างลักษณะหนอนคืบกินใบ ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน สีน้ำตาลอ่อน ลำตัวมีขนสีเหลืองปกคลุม ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ตามใบอ่อน ยอดอ่อน ลักษณะการทำลายหนอนคืบกินใบสามารถทำความเสียหายให้กับพืชได้มากในระยะแตกใบอ่อน โดยตัวหนอนที่ออกจากไข่จะเริ่มกัดกินใบอ่อน และเมื่อตัวหนอนโตขึ้นจะกินทั้งใบอ่อน ใบเพสลาดและใบแก่ วิธีป้องกันกำจัด 1.อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ 2.หมั่นสำรวจแปลงสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในระยะแตกใบอ่อน ถ้าหากโคนต้นเงาะโล่งเตียนไม่มีหญ้า

หนอนคืบกินใบเงาะ ชื่อวิทยาศาสตร์ Oxyodes scrobiculata (Fabricius) รูปร่างลักษณะหนอนคืบกินใบ ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน สีน้ำตาลอ่อน ลำตัวมีขนสีเหลืองปกคลุม ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ตามใบอ่อน ยอดอ่อน ลักษณะการทำลายหนอนคืบกินใบสามารถทำความเสียหายให้กับพืชได้มากในระยะแตกใบอ่อน โดยตัวหนอนที่ออกจากไข่จะเริ่มกัดกินใบอ่อน และเมื่อตัวหนอนโตขึ้นจะกินทั้งใบอ่อน ใบเพสลาดและใบแก่ วิธีป้องกันกำจัด 1.อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ 2.หมั่นสำรวจแปลงสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในระยะแตกใบอ่อน ถ้าหากโคนต้นเงาะโล่งเตียนไม่มีหญ้า

ข้าวหัวหงอก จากหนอนกอข้าว ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

บั่วปมมะม่วง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

ด้วงเต่าลายหยัก ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

โรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว บริเวณที่พบ พบมากในนาน้ำฝน และนาชลประทาน ลักษณะอาการแผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอ แผลมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลรูปกลมหรือไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง

บั่ว ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

ผลเน่า ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207