ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทที่ 5 การปลูกแตงโมยงสัตว์ ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

โรครากปมในนาข้าว

โรครากปมในนาข้าว สาเหตุ : ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne graminicola อาการ มักเกิดในสภาพไร่และแปลงกล้าซึ่งปล่อยให้น้ำแห้ง เมื่อไส้เดือนฝอยตัวอ่อนระยะที่ 2 ฝังหัวเข้าไปที่ปลายรากอ่อนจะปล่อยสารออกมากระตุ้น ให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบ ๆ นั้นแบ่งตัวเร็ว และมากกว่าปกติ นอกจากนี้จะมีเซลล์ขนาดใหญ่เกิดขึ้น เนื่องจากไส้เดือนฝอยปล่อยน้ำย่อยไปย่อยผนังเซลล์หลายเซลล์ ทำให้เกิดเซลล์ใหม่ขนาดใหญ่ขึ้นมา และมันจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากเซลล์นี้ ทำให้เกิดรากพองขึ้นเป็นปม เมื่อปลายรากเกิดปมขึ้นแล้ว รากนั้นก็จะไม่เจริญต่อไป

โรคผลเน่าทุเรียน (Fruit Rot) อาการ บริเวณปลายผล หรือก้นผลมักพบจุดช้ำสีน้ำตาลปนเทา ต่อมาขยายเป็นวงกลมหรือค่อนข้างรี ไปตามรูปร่างผลแผลดังกล่าวอาจพบได้ตั้งแต่ผลคงอยู่บนต้น แต่ส่วนใหญ่มักพบเกิดกับผลในช่วง ประมาณ 1 เดือน ก่อนเก็บเกี่ยวจนกระทั่งเก็บเกี่ยว และในระหว่างบ่มผลให้สุก วิธีป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี

ไรสี่ขามะพร้าว (Coconut mite) หากเกษตรกรพบว่าผลมะพร้าวมีอาการเป็นแผลแห้งสีน้ำตาลเป็นทางยาว ปลายแผลเป็นมุมแหลม โดยเฉพาะบริเวณขั้วผลอ่อน โดยเมื่อสังเกตแล้วไม่พบตัวไร เนื่องจากไรสี่ขาเป็นไรที่มีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดังนั้น ให้รีบแจ้งหรือขอคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้าน เพื่อหาแนวทางควบคุม และป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง เนื่องจากไรชนิดนี้สามารถเป็นพาหนะนำโรคไวรัสไวรอยด์ และสามารถเข้าทำลายพืชที่สำคัญชนิดอื่น ๆ ได้หลายชนิด วิธีป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มอารักขาพืช

โรคใบขีดสีน้ำตาลข้าว (Narrow Brown Spot Disease) เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Cercospora oryzae l. Miyake อาการ ลักษณะแผลที่มีใบมีสีน้ำตาลเป็นขีด ๆ ขนานไปกับเส้นใบข้าว มักพบในระยะข้าวแตกกอ แผลไม่กว้างตรงกลางเล็กและไม่มีรอยช้ำที่แผล ต่อมาแผลจะขยายมาติดกัน แผลจะมีมากตามใบล่างและปลายใบ ใบที่เป็นโรคจะแห้งตายจากปลายใบก่อน ต้นข้าวที่เป็นโรครุนแรงจะมีแผลสีน้ำตาลที่ข้อต่อใบได้เช่นกัน

หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer)

หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) หนอนกออ้อย ทำลายอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะอ้อยแตกกอทั้งอ้อยปลูกใหม่และอ้อยตอ ระบาดรุนแรงในสภาพที่อุณหภูมิสูง ความชื้นต่ำ ภาวะแห้งแล้งที่เกิดจากฝนทิ้งช่วง หนอนกออ้อย ที่สำคัญที่พบเข้าทำลายอ้อย มี 3 ชนิด คือ วิธีป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี

แนวคิดระบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” สำหรับเกษตรกร ตามแนวพระราชดำริ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน คือ ความพอเลี้ยงตัวเองได้บนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย การรวมกลุ่มรวมพลัง เพื่อทำการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้หลากหลาย ชวนอ่านเรื่องราวแบบละเอียด ใน 3 เอกสารแนะนำดังนี้ 1.เศรษฐกิจพอเพียง กับภาคการเกษตรคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/sufficient_economy/ 2.เศรษฐกิจพอเพียง

การปลูกมะนาวในวงบ่อซีเมนต์ ขั้นตอน 1.การคัดเลือกพันธุ์ 1.1 พันธุ์มะนาวที่ปลูกในวงบ่อซีเมนต์ เพื่อบังคับให้มะนาวออกดอก ติดผลนอกฤดู สามารถบังคับให้ออกดอกติดผลได้ทุกสายพันธุ์ มะนาวที่เหมาะสมสำหรับการปลูกในวงบ่อซีเมนต์ เพื่อบังคับให้ออกนอกฤดู เช่น มะนาวพันธุ์แป้นพิจิตร 1 มะนาวพันธุ์ตาฮิติ มะนาวพันธุ์แป้นรำไพ 1.2 ต้นพันธุ์มะนาว คัดเลือกต้นพันธุ์มะนาวจาก “กิ่งตอน” หรือ “การเสียบยอด” เลือกต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์แข็งแรงมาปลูกในวงบ่อซีเมนต์

“กล้วยหอมทอง” เรื่องกล้วย กล้วย ที่ไม่กล้วย! การดูแลรักษาต้นกล้วย เตรียมดิน โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์/ปุ๋ยหมักปรับปรุงดิน คลุกเคล้าด้วยเชื้อราไตรโคเดอร์มา เพื่อป้องโรคตายพราย พร้อมกับจัดการระบบน้ำ (แบบน้ำพุ่ง) เพื่อให้กล้วยได้น้ำอย่างเพียงพอตลอดทั้งปี ต้นกล้วยสมบูรณ์และเจริญเติบโตเร็ว จากนั้นจะบำรุงต้นด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักตลอดอายุของต้นกล้วย วิธีการปลูก จะขยายพันธุ์โดยใช้หน่อกล้วยจากต้นกล้วยที่เก็บผลผลิตแล้ว ซึ่งต้นกล้วย 1 ต้น จะออกหน่อประมาณ 3-5 หน่อ

มะเขือเทศพันธุ์จักรพันธุ์ 1 ภาพโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 2 จังหวัดตรัง

ดอกทานตะวัน ภาพโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี

กล้วยไม้ ภาพโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 2 จังหวัดตรัง

ข้าวโพดหวานเพียวไวท์ฮอกไกโด ภาพโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน

หนอนหน้าแมว ภาพโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง