ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

การปลูกผักสวนครัวในพื้นที่จำกัด องค์ความรู้โดย นางลำใย ตรีหิรัญ Smart Farmer พระสมุทรเจดีย์1. ทำสวนผักในถาดใส่เมล็ดผักที่ต้องการปลูกลงไป หมั่นรดน้ำพรวนดิน แล้วนำไปวางในที่แสงแดดส่องถึงพืชที่นิยมปลูกได้แก่ ต้นอ่อนทานตะวัน ผักชี 2. ปลูกผักในแกลลอนเหลือใช้นำแกลลอนที่ไม่ได้ใช้งานแล้วมาล้างน้ำ ให้สะอาด ตัดพลาสติกที่ด้านข้างออก เพื่อให้มีพื้นที่สำหรับปลูกผักและรดน้ำ 3. ปลูกผักในกล่องโฟมกล่องโฟมที่ไม่ใช้แล้วสามารถนำมาปลูกผักได้เนื่องจากใส่ดินได้เยอะ มีนำหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก เหมาะสำหรับการปลูกพืชผักกินใบ

ฮอร์โมนพืช? (Plant Hormones) สารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นเองตามธรรมชาติ ในบริเวณเนื้อเยื่อของพืชก่อนเคลื่อนย้ายสารดังกล่าวไปยังเนื้อเยื่อเป้าหมาย เพื่อส่งสัญญาณเริ่มกระบวนการสร้าง ทำการควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงส่วนต่าง ๆ ของพืช ทั้งด้านการเจริญเติบโต การงอกของเมล็ด การออกดอกออกผล การผลัดใบ รวมไปถึงการยับยั้งการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายในต้นพืช ออกซินหน้าที่ : ยับยั้งการเจริญตา (กิ่ง ก้าน ผล) กระตุ้นการแบ่งเซลล์ให้มีการยืดขยาย กระตุ้นการเจริญเข้าหาแสงของพืชสารที่คุณสมบัติคล้ายกัน

เตือนภัยการใช้สารเคมีการเกษตร ระวัง!!การใช้สารกำจัดแมลงบางชนิดร่วมกับสารโพรพานิล ได้แก่ โพรพานิล, โคลมาโซน+โพรพานิล,บิวทาคลอร์,โพรพานิล ห้ามผสมกับสารกำจัดแมลง กลุ่ม 1A และ 1B แต่หากจำเป็นต้องพ่นสารโพรพานิลก่อน หรือ หลัง สารกำจัดแมลงกลุ่ม 1A และ 1B ให้เว้นระยะ 10-14 วัน กลุ่ม 1A

โรคราน้ำค้างในพืชตระกูลแตง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา : Pseudoperonospora cubensis อาการเริ่มแรกพบจุดสีเหลืองหรือน้ำตาลขนาดเล็ก และขยายใหญ่ขึ้นเป็นปื้นสีเหลือง โดยจะพบที่ใบล่าง ใบแก่หรือโคนเถา ในเวลาเช้ามืดจะเห็นเส้นใยเชื้อราสีขาวหรือเทาที่ใต้ใบ ขอบใบจะม้วนและร่วง ปื้นสีเหลืองนั้นต่อไปจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล*ในเมล่อน แคนตาลูปและแตงโม จะทำให้ความหวานลดลง วิธีการดูแลรักษา ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

แมลงสิง

แมลงสิง แมลงสิง เป็นมวนชนิดหนึ่ง ตัวเต็มวัยมีรูปร่างเพรียวยาว ขนาดประมาณ 1.5 ซม. หนวดยาวใกล้เคียงกับลำตัว ลำตัวด้านบนสีน้ำตาล ด้านล่างสีเขียว เมื่อถูกรบกวนจะบินหนี ปล่อยกลิ่นเหม็นจากต่อมที่ส่วนท้อง ตัวเต็มวัยออกหากินช่วงเช้ามืดและบ่าย เพศเมียวางไข่ได้หลายร้อยฟองในช่วงชีวิต 2-3 เดือน วางไข่เป็นกลุ่ม 10-12 ฟอง เรียงเป็นแถวตรงบนใบข้าวขนานกับเส้นกลางใบ ไข่มีสีน้ำตาลแดงเข้ม รูปร่างคล้ายจาน

โรคดอกกระถินในข้าว สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Ustilaginoidea virens (Cke.) การเข้าทำลายในช่วงที่สภาพอากาศมีความชื้นสูง เชื้อราเข้าทำลายรวงข้าวในระยะเริ่มออกดอก เชื้อราสาเหตุโรค มีลักษณะเป็นผงหรือกลุ่มก้อนขนาดเล็กสีเหลือง พบอยู่ระหว่างเปลือกเมล็ดข้าว ต่อมาเชื้อราจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเจริญเติบโตคลุมเมล็ดข้าวทั้งเมล็ด เมื่อเชื้อราเจริญต่อไป เยื่อหุ้มจะแตกออก เชื้อราจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม ถ้าเชื้อราแก่จัด อาจพบเป็นสีดำ สุดท้ายก้อนเชื้อราดอกกระถินจะมีรอยแยกและมีสีเขียวเข้มปนเหลือง ระยะนี้เชื้อราจะปลิวไปกับลม เข้าทำลายเมล็ดข้าว ต้นอื่น

รายงานประจำปี เดือนตุลาคม 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ http://library.doae.go.th สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517

สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 http://library.doae.go.th

วันที่ 28 ตุลาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร พร้อมด้วย นายครองศักดิ์ สงรักษา รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายวีรศักดิ์ บุญเชิญ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายสุริยะ คำปวง รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ผู้อำนวยการกอง/สำนักส่วนกลาง

วันที่ 28 ตุลาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวปิดและร่วมประกาศความสำเร็จในการดำเนินโครงการการจัดการห่วงโซ่อุปทานข้าวและมันฝรั่ง เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ด้วยวิธีการปลูกข้าว มันฝรั่งและข้าวโพดหมุนเวียนอย่างยั่งยืน (RePSC) ณ โรงแรมเรอเนสซองส์ กรุงเทพฯ ราชประสงค์

บั่ว

บั่ว

บั่ว ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

ผลเน่า

ผลเน่า

ผลเน่า ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

หนอนกินเปลือกต้นมะม่วง

หนอนกินเปลือกต้นมะม่วง

หนอนกินเปลือกต้นมะม่วง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

โรคเมล็ดด่าง

โรคเมล็ดด่าง

โรคเมล็ดด่าง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

มวนเขียวดูดไข่

มวนเขียวดูดไข่

มวนเขียวดูดไข่ ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207