ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โรคเมล็ดด่าง

โรคเมล็ดด่าง สาเหตุ เชื้อราหลายชนิด โดยมีเชื้อราสาเหตุหลัก 6 ชนิด ได้แก่Curvularia lunata, Cercospora oryzae, Bipolaris oryzae, Fusarium semitectum, Trichoconis padwickii และ Sarocladium oryzae ลักษณะอาการในระยะออกรวง พบแผลจุดสีต่าง ๆ

ขอเชิญเที่ยวงานมหกรรมในความทรงจำ 11-13 ตุลาคม 2567 พิพิธภัณฑ์พร้อมส่งตรง สิ่งดีๆ ถึงบ้านท่าน ไม่ว่าจะเป็นภาพบรรยากาศการจัดงาน ตลอดทั้ง 3 วัน การอบรมวิชาของแผ่นดิน และ Workshop เสวนา ในหัวข้อต่าง ๆ พร้อมถ่ายทอดสด 13 ตุลาคม 2567 ช่วงพิธีน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ

แมลงบั่ว

แมลงบั่ว ตัวเต็มวัยแมลงบั่ว คล้ายยุงหรือตัวริ้น วางไข่เดี่ยวหรือกลุ่ม 3-4 ฟอง ไข่มีลักษณะคล้ายกล้วยหอมสีชมพูอ่อน ตัวหนอนคล้ายหนอนแมลงวัน หัวท้ายเรียว ตัวหนอนมี 3 ระยะ (วงจรชีวิตของแมลงบั่ว 25-30 วัน) การเข้าทำลาย แมลงบั่วจะเริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะกล้า (ข้าวอายุ 1 เดือน) โดยบินเข้าหาแสงไฟเพื่อผสมพันธุ์ ตัวหนอนเข้าไปเจริญเติบโตในกาบใบข้าว

เปิดรับสมัครและคัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วม โครงการพัฒนาทักษะและแนวคิดผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร (เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ประจำปี 2568 คุณสมบัติผู้สมัคร เอกสารการสมัคร สถานที่รับสมัคร : สำนักงานเกษตรอำเภอใกล้บ้านท่าน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานเกษตรอำเภอ และสำนักงานเกษตรจังหวัดทุกจังหวัด ที่มา : กองพัฒนาเกษตรกร

ขอเชิญชวน เกษตรกร ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ มะยงชิด มะปรางหวาน จังหวัดนครนายก ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ตราสัญลักษณ์สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย (GI) ที่หมดอายุแล้วหรือกำลังหมดอายุ และผู้ที่ยังไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ตราสัญลักษณ์ GI เอกสารประกอบการยื่นคำขอ ผู้ยื่นใบสมัครไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใดๆทั้งสิ้น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก 

ประกาศ สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง เปิดรับสมัคร เกษตรกรผู้สนใจเข้าร่วม อบรม เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืชทุเรียน ในวันที่ 8 ตุลาคม 2567 เวลา 10.00 -14.00 น. ณ ศาลาหมู่บ้านหมู่ที่ 6 ต.ไทรขึง อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี

ประชาสัมพันธ์ขอเชิญเกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรปาล์มน้ำมัน อ.พระแสง ครั้งที่ 5 ในวันที่ 10 ตุลาคม 2567 ณ สวนนายหนึ่ง ม.5 ต. อิปัน อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานีเกษตรกรท่านใดสนใจสามารถเข้าร่วมได้ตามวันและเวลาดังกล่าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะวิธีฟื้นฟูและดูแลสวนไม้ผลหลังน้ำลด กรมส่งเสริมการเกษตรมีความห่วงใยเกษตรกรชาวสวนไม้ผล ที่สวนไม้ผลและผลผลิตอาจเสียหายจากอุทกภัย จึงขอแนะนำวิธีฟื้นฟูและดูแลสวนไม้ผลหลังน้ำลดและขอให้เกษตรกรดำเนินการ ดังนี้             1. เร่งระบายน้ำออกจากโคนต้นไม้ สวนไม้ผล หรือบริเวณที่มีน้ำขังโดยเร็ว ด้วยการขุดร่องระบายน้ำและใช้เครื่องสูบน้ำระบายน้ำออกจากสวนโดยเร็ว หากพื้นที่รอบสวนยังมีน้ำท่วมอยู่ จำเป็นต้องยกขอบแปลงเป็นคันดินเพื่อกันน้ำจากภายนอกทะลักเข้ามาในสวนด้วย             2. อย่านำเครื่องจักรกลเข้าสวนขณะที่ดินยังเปียกอยู่ และไม่ควรเข้าไปเหยียบย่ำบริเวณโคนต้นพืช เพราะดินที่ถูกน้ำท่วมขังโครงสร้างของดินจะง่ายต่อการถูกทำลายและเกิดการอัดแน่นได้ง่าย ซึ่งเป็นผลเสียต่อการไหลซึมของน้ำและกระทบกระเทือนต่อระบบรากของไม้ผล             3.

โรคแอนแทรกโนส

โรคแอนแทรกโนส

โรคแอนแทรกโนส ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

เพลี้ยแป้ง

เพลี้ยแป้ง

เพลี้ยแป้ง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

เพลี้ยหอยเกล็ด

เพลี้ยหอยเกล็ด

เพลี้ยหอยเกล็ด ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

เพลี้ยแป้งทำให้ยอดหงิก

เพลี้ยแป้งทำให้ยอดหงิก

เพลี้ยแป้งทำให้ยอดหงิก ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207