ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เตือนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ระวัง “หนู” สัตว์ศัตรูพืช ระบาดในพื้นที่การเกษตร การป้องกันและกำจัด เรียบเรียง :  กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

การเพาะกล้าผัก

การเพาะกล้าผัก วัสดุเพาะ อุปกรณ์ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งคอย​ จังหวัดสระบุรี ประชาสัมพันธ์​เกษตรกรและประชาชนทั่วไป​ ร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่​ ในพระราชานุเคราะห์ฯ ครั้งที่​ 4​ ประจำปี​ 2567​ ในวันพุธที่​ 24​ กรกฎาคม​ 2567​ เวลา​ 08.00 น.​ เป็นต้นไป (นำบัตรประชาชนติดมาด้วย)  เครื่องแต่งกายเสื้อโทนสีเหลือง กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย การให้บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่

ขอเชิญร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 จังหวัดพิจิตร ในวันอังคารที่ 30 กรกฎาคม 2567 ณ วัดหงษ์ ตำบลย่านยาว อำเภอเมืองพิจิตร

กาหยูเกาะพยาม

แผ่นพับที่ 10/2567 กาหยูเกาะพยาม ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดระนอง มะม่วงหิมพานต์ หรือ “กาหยู” มีแหล่งปลูกในจังหวัดระนอง ปลูกเยอะที่สุดที่ตำบลเกาะพยาม ด้วยสภาพพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย จึงเหมาะสำหรับปลูกกาหยู ทำให้เมล็ดมีลักษณะเนื้อแน่น รสชาติหวานมัน กรอบ อร่อย รวมถึงการแปรรูปกาหยูที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการคั่วแบบโบราณและคั่วเมล็ดด้วยข้าวสาร จึงมีกลิ่นหอมตามธรรมชาติ เรียบเรียง : กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร

“3R Model : 3 เปลี่ยน” โมเดลที่จะชวนเกษตรกรไทย หยุดเผาในพื้นที่เกษตรอย่างยั่งยืน ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชนิดพืช และเปลี่ยนเป็นพืชทางเลือก อ่านเรื่องราวแบบละเอียด รวมถึงวิธีการที่จะนำมาซึ่งการหยุดเผา การลดต้นทุน และการเพิ่มรายได้ ใน 4 เอกสารแนะนำดังนี้ 1. แนวทาง 3R Model :

ฮอร์โมนไข่

ฮอร์โมนไข่ ทำง่าย ต้นทุนต่ำ ช่วยเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต ส่วนผสม วิธีทำ วิธีใช้ใช้อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร สามารถใช้ได้ 80 ไร่ จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

หนอนปลอกข้าว

หนอนปลอกข้าว ตัวเต็มวัยตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกสีขาวมีแถบสีน้ำตาลอ่อนถึงดำ 2-3 แถบตามขอบปีก ลักษณะและการระบาด การป้องกันและกำจัด 1. ระบายน้ำออกจากแปลงนา เพื่อทำลายตัวหนอน และระงับการแพร่ระบาดในนาข้าว เพราะหนอนจะระบาดโดยปลอกลอยไปตามน้ำ ถ้าเอาน้ำออก หนอนก็จะระบาดไม่ได้ 2. ใช้สารฆ่าแมลง เมื่อตรวจพบใบถูกทำลายมากกว่า 15% หรือพบใบห่อ 6-8 ใบ ต่อ

หนอนห่อใบข้าว

ระวัง! หนอนห่อใบข้าว ลักษณะการทำลาย เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

บทบาทหน้าที่

  • ศึกษา วิเคราะห์ นโยบายและแนวทางการส่งเสริมการเกษตรเพื่อวางแผนการ ให้บริการข้อมูลข่าวสารองค์ความรู้ สื่อส่งเสริมการเกษตรและห้องสมุดกรมส่งเสริม การเกษตร
  • ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบให้บริการข้อมูล องค์ความรู้ สื่อส่งเสริมการเกษตร และห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร
  • ดำเนินการให้บริการข้อมูลองค์ความรู้ สื่อส่งเสริมการเกษตร และห้องสมุด กรมส่งเสริมการเกษตร
  • ให้คำปรึกษา แนะนำ ด้านการให้บริการข้อมูลองค์ความรู้ สื่อส่งเสริมการเกษตร และห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร
  • ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

วิสัยทัศน์

  • ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

พันธกิจ

  • แสวงหารวบรวมและจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ องค์ความรู้ข้อมูลข่าวสาร และอื่น ๆ
  • พัฒนาระบบการจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ
  • ให้บริการสารสนเทศ องค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรและอื่นๆ
  • สร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร
แนะนำหน่วยงาน

นางสาวสุกัญญา พัวพันธ์

ผู้อำนวยการศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

แนะนำหน่วยงาน

นางเขมณัฎฐ์ กมลกิจจาลักษณ์

นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ

แนะนำหน่วยงาน

นางสาวสุพัตรา สมบัติมานะผล

นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ

แนะนำหน่วยงาน

นายมานิต ลาเกลี้ยง

นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ

แนะนำหน่วยงาน

นางสาววิรังรอง มณีภัคนันท์

นักวิชาการเผยแพร่ชำนาญการ

แนะนำหน่วยงาน

นางสาวกุลกนิษฐ์ เซ็นสมบูรณ์

นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ

แนะนำหน่วยงาน

นางสาวปาณิสาภัสร์ สังข์สวัสดิ์

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน