ใบจุดซิก้าโทก้าสีเหลือง
ใบจุดซิก้าโทก้าสีเหลือง เกิดจากเชื้อรา Cercospora musae (Mycosphaerella musicola) พบในสภาพอากาศฝนตกหนักสลับกับอากาศร้อน แปลงที่มีการปลูกกล้วยในระยะชิด ไม่มีการจัดการแปลงที่ดี ลักษณะอาการ แนวทางการดูแลรักษา ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร
ระวัง “หนู” สัตว์ศัตรูพืช ระบาดในพื้นที่การเกษตร
เตือนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ระวัง “หนู” สัตว์ศัตรูพืช ระบาดในพื้นที่การเกษตร การป้องกันและกำจัด เรียบเรียง : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย
หนอนปลอกข้าว
หนอนปลอกข้าว ตัวเต็มวัยตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกสีขาวมีแถบสีน้ำตาลอ่อนถึงดำ 2-3 แถบตามขอบปีก ลักษณะและการระบาด การป้องกันและกำจัด 1. ระบายน้ำออกจากแปลงนา เพื่อทำลายตัวหนอน และระงับการแพร่ระบาดในนาข้าว เพราะหนอนจะระบาดโดยปลอกลอยไปตามน้ำ ถ้าเอาน้ำออก หนอนก็จะระบาดไม่ได้ 2. ใช้สารฆ่าแมลง เมื่อตรวจพบใบถูกทำลายมากกว่า 15% หรือพบใบห่อ 6-8 ใบ ต่อ 10 ต้น– สารเบนซันแทป (แบนคอล 50% ดับบลิวพี) อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร – ฟิโพรนิล (แอสเซ็นต์ 5% เอสซี) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
หนอนห่อใบข้าว
ระวัง! หนอนห่อใบข้าว ลักษณะการทำลาย เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.
โรคราน้ำฝนในลำไย
โรคราน้ำฝนในลำไย เนื่องจากสภาพอากาศในช่วงเวลานี้ มีฝนตกชุกและ มีความชื้นสูง ทำให้เกิดการระบาดของโรคราน้ำฝนในลำใยในบางพื้นที่ ฉะนั้น เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดให้รีบกำจัด หรือ ติดต่อสำนักงานเกษตรจังหวัดลำปางหรือ สำนักงานเกษตรอำเภอใกล้บ้านท่าน การเข้าทำลาย เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง