ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โรคใบด่างมันสำปะหลัง สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อไวรัส Sri Lankan Cassava mosaic virus (SLCMV) มีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ ลักษณะอาการของโรค ส่วนของยอดอ่อนหรือยอดที่เกิดใหม่จะแสดงอาการด่างเขียวอ่อนหรือเหลืองสลับเขียวเข้ม มีขนาดเรียวเล็ก หงิกงอ และเสียรูปทรง อาการบนใบส่วนที่ถัดลงมาจากยอดหรือใบแก่จะพบอาการด่างเขียวอ่อนหรือเหลืองสลับเขียวเข้ม หงิกงอ และเสียรูปทรง ความเสียหายจากโรคจะทำให้มันสำปะหลังไม่สร้างหัวสะสมอาหารหรือหัวมีขนาดเล็ก ซึ่งอาจทำให้ผลผลิตลดลง กรมส่งเสริมการเกษตรแนะนำวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้ 1) ปลูกมันสำปะหลังที่ปลอดโรค

พืชมีความต้องการธาตุอาหาร เพื่อใช้ในการเจริญเติบโต โดยธาตุอาหารของพืชถูกเเบ่งออกเป็นธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม วันนี้ชวนอ่านเรื่องราวของ “ธาตุอาหารพืช” และอาการเกิดโรคต่างๆ จากการขาดธาตุอาหารใน 3 เอกสารคำแนะนำดังนี้ค่ะ ธาตุอาหารพืชคลิกอ่าน : https://bit.ly/3VlXVkD การวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชที่เกิดจากธาตุอาหารคลิกอ่าน : https://bit.ly/3VocSma การวินิจฉัยอาการด่างที่เกิดจากเชื้อไวรัสและการขาดธาตุอาหารคลิกอ่าน : https://bit.ly/3PP7579

แมลงดำหนามข้าว (Rice hispa) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicladispa armigera (olivier) วงจรชีวิต รูปร่างลักษณะ ระยะตัวเต็มวัยเป็นด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีหนามแข็งแหลมแปกคลุมตัว ลำตัวยาว 5-6 มม. เพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ประมาณ 50 ฟอง ใกล้ปลายใบอ่อน ระยะตัวเต็มวัย

ไถกลบตอซัง ปรับโครงสร้างดิน ลดการเผา ลดหมอกควัน การเผาตอซังการเผาตอซังมีผลกระทบอย่างมากต่อการทำลายโครงสร้างของดิน จุลินทรีย์ และสิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ในดิน เนื่องจากความร้อนจากการเผาตอซังก่อให้เกิดผลเสียต่อทรัพยากร โดยทำให้โครงสร้างของดินเปลี่ยนแปลงไป สูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน ทำลายจุลินทรีย์และแมลงที่เป็นประโยชน์ในดิน สูญเสียน้ำในดิน และทำให้เกิดฝุ่นละออง เถ้าเขม่า และก๊าซหลายชนิด และทำให้เกิดมลพิษและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ การใช้น้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ช่วยย่อยสลายตอซังสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่เพิ่มประสิทธิภาพการย่อยโปรตีน ไขมัน

การเก็บเมล็ดพันธุ์จุดเริ่มต้นการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร ลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนอาหารและเมล็ดพันธุ์เมื่อเกิดวิกฤตต่าง ๆ ประเภทของเมล็ดพันธุ์ที่เก็บได้ในครัวเรือน ตัวอย่างการเก็บเมล็ดพันธุ์ ถั่วต่าง ๆเก็บฝักแก่สีน้ำตาล ผึ่งลมในที่ร่มให้แห้ง นำเมล็ดออกทำความสะอาด เก็บในภาชนะปิดสนิท พริกเก็บผลสุกแก่ นำเมล็ดออกทำความสะอาด ผึ่งลมในที่ร่มให้แห้ง เก็บในภาชนะปิดสนิท บวบเก็บผลแก่จัดแห้ง นำเมล็ดออกทำความสะอาด ผึ่งลมในที่ร่มให้แห้ง เก็บในภาชนะปิดสนิท ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว

การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของลำไย ผีเสื้อมวนหวานใช้เหยื่อพิษล่อตัวเต็มวัย โดยใช้ผลไม้สุกมีกลิ่นหอม เช่น กล้วย สับปะรด มะละกอ หรือลูกตาลสุก ตัดเป็นชิ้นหนาประมาณ 1 นิ้ว แล้วจุ่มในสารฆ่าแมลงคาร์บาริล 85% WP อัตรา 2 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร แช่ทิ้งไว้ประมาณ 5

วันที่ 4 ธันวาคม 2568 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในวันที่ 5 ธันวาคม 2567

ราแป้งราดำมะม่วง เกิดจากเชื้อรา Oidium mangiferae พบอาการที่ช่อดอก พบเป็นผงสีขาวคล้ายแป้ง ขึ้นฟูตามก้านช่อดอก ทำให้ดอกมีลักษณะช้ำเป็นสีน้ำตาลอ่อนต่อมาเปลี่ยนเป็นสีดำ แห้งและหลุดร่วงหากติดผลจะทำให้ผลที่ได้ไม่สมบูรณ์มีขนาดเล็กและหลุดร่วงจากขั้วได้ง่าย ส่วนอาการที่ใบจะพบจุดแผลสีเหลือง จะพบเชื้อราเป้นผงสีขาวคล้ายแป้งขึ้นปกคลุมผิวใบ อาการรุนแรงจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเทา และใบบิดเบี้ยวผิดรูป แนวทางการป้องกัน โรคราดำ เกิดจากเชื้อรา Capnodium sp. และ Mesiola sp. พบคราบราสีดำตามส่วนของลำต้น

การปาฐกถา เรื่อง “นโยบายของรัฐต่อการส่งเสริมการเกษตร การทำเกษตรปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” โดย นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรวันพุธที่ 4 ธันวาคม 2567 เวลา 9.30 น. ณ อาคารศูนย์เรียนรวม 4 ห้อง 102 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

วันที่ 3 ธันวาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น ข่าวฝากประชาสัมพันธ์ ขอเชิญร่วมงานมหกรรม ภูมิพลังแผ่นดิน วันที่ 5-8 ธันวาคม 2567 ภายในงานพบกับ

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567 จัดทำโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ

โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ

วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร จัดกิจกรรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” จำนวนผู้เข้าอบรม 66 ท่าน โดยแบ่งเป็นรอบเช้า 36 ท่าน รอบบ่าย 30 ท่าน วิทยากรโดย กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร ภาพกิจกรรมรอบเช้า ภาพกิจกรรมรอบบ่าย

ประกาศรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมการฝึกอบรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ”

ประกาศรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมการฝึกอบรม "โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ"

ประกาศรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมการฝึกอบรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” เพื่อเข้าร่วมอบรมในวันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร รายชื่อผู้เข้าร่วมรอบเช้า (8.30 – 12.00 น.) รายชื่อผู้เข้าร่วมรอบบ่าย (13.00 – 16.00 น.) ผู้ที่มีรายชื่อเข้าร่วมอบรม สามารถเดินทางมายังสถานที่อบรมด้วยรถสาธารณะ เนื่องจากมีที่จอดรถให้บริการจำนวนน้อย ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ สอบถามเพิ่มเติมโทร. 02 955 1641 ปาณิสาภัสร์ (ผู้ประสานงาน)

การฟื้นฟูแปลงและการปลูกพืชผักหลังน้ำลด

การฟื้นฟูแปลงและการปลูกพืชผักหลังน้ำลด

การฟื้นฟูแปลงและปลูกพืชผัก ดินเปียก น้ำขัง การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา เพื่อเตรียมเพาะกล้าเตรียมส่วนผสม (คลุกเคล้าให้เข้ากัน) เรียบเรียง : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่

การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลดและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าว

การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลดและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าว

การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลดและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าว การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลด การเกิดน้ำท่วมในพื้นที่นาข้าว อาจเกิดได้ 2 กรณี คือ จากฝนตกหนักน้ำป่าไหลหลาก เกิดน้ำท่วมฉับพลับ หรือเกิดจากน้ำท่วมขังเป็นระยะเวลานาน ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวเสียหาย โดยขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของข้าว ความลึกของน้ำ และระยะเวลาการท่วมขัง การจัดการนาข้าว การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ใช้ควบคุมโรคที่มีสาเหตุเกิดจากเชื้อราสำหรับนาข้าว มีอัตราการใช้ดังนี้ เรียบเรียง : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่