ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

งานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ Field Day อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน 5 ฐานการเรียนรู้

งานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ ปี 2567 Field Day 2024 อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง กำหนดจัดในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ศูนย์เครือข่าย วิสาหกิจชุมชนฮักน้ำจาง หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ภายในงานมีกิจกรรมฐานเรียนรู้ผักและสมุนไพร จำนวน

เพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips)

เพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips) ในช่วงเข้าฤดูแล้ง เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก เฝ้าระวังการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟพริก ในช่วงระยะยอดอ่อน ใบอ่อน และระยะตาดอกอ่อน เพลี้ยไฟ : ที่มีขนาดเล็กสีน้ำตาลอ่อน เพศเมียวางไข่ในเนื้อเยื่อพืชตามเส้นใบ ทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ทำลายพืชโดยดูดกินน้ำเลี้ยงตามใบ ดอก ผล ลักษณะการทำลายของเพลี้ยไฟพริก จะเป็นปากแบบเขี่ยดูด (Rasping-sucking) โดยใช้ปากส่วนที่เป็นแท่ง (Stylet)

น้ำหมักย่อยสลายฟาง

ส่งเสริมไม่เผาด้วย 3R Model น้ำหมักย่อยสลายฟาง วัตถุดิบ วิธีทำ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

เกษตรบางแก้ว ประชาสัมพันธ์การจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ Field Day ประจำปี 2567 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ร่วมกับคณะกรรมการ ศพก.อำเภอบางแก้ว ขอเชิญเกษตรกรและผู้สนใจ ร่วมงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ในวันพฤหัสบดี ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 8.30 น. เป็นต้นไป

สำนักงานเกษตรอำเภออมก๋อย ขอเชิญชวนพี่น้องชาวอำเภออมก๋อย ร่วมเที่ยวชมงานวันเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field day) ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ศูนย์ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) หลัก บ้านยางครก หมู่ที่ 7 ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ภายในงานมีกิจกรรมบริการทางการเกษตรหลากหลาย อาทิ ฐานประมง

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล รูปร่างลักษณะ ระยะเข้าทำลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ลักษณะการทำลายและการระบาด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 คุณนิวัฒน์ ล้วนใจบุญธรรม ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 13 เล่ม/แผ่น  สำหรับศึกษาการเพาะปลูกใช้ในพื้นที่การเกษตรของตนเอง

จัดการเพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน อย่างไรให้ได้ผล ลักษณะการทำลาย เพลี้ยทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนทุเรียน ทำให้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียงเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย จัดทำ : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ปฏิทินการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น

ปฏิทินการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น

ปฏิทินการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปางhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100030145864178 ดาวน์โหลด PDF : https://esc.doae.go.th/wp-content/uploads/2023/09/ปฏิทินการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น.pdf

BCG model ภาคการเกษตร

BCG model ภาคการเกษตร

BCG model ภาคการเกษตร BCG คืออะไร เป็นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจ คือเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนประเทศไทยอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยบูรณาการการพัฒนาตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ใช้องค์ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สร้างคุณค่าเพิ่ม (Value Creation) จากฐานความหลากหลาย ทางชีวภาพและวัฒนธรรม จัดทำโดย : สํานักงานเกษตรจังหวัดบึงกาฬhttps://www.facebook.com/kasetbk/?locale=th_TH

12 แนวทางป้องกันโรคจากเชื้อราในพริกไทยช่วงฤดูฝน

12 แนวทางป้องกันโรคจากเชื้อราในพริกไทยช่วงฤดูฝน

12 แนวทางป้องกันโรคจากเชื้อราในพริกไทยช่วงฤดูฝน 1. แปลงปลูกควรมีการระบายน้ำดี ไม่ควรมีน้ำท่วมขัง หากมีน้ำท่วมขังควรรีบระบายออก 2. ปรับสภาพดินไม่ให้เป็นกรดจัดโดยใส่ปูนขาว หรือโดโลไมท์ 3. ปรับปรุงดิน โดยใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพื่อให้ดินสามารถดูดซับน้ำและธาตุอาหารได้ดี และรากพืชสามารถพัฒนาและนำอาหารพืชไปใช้ได้ง่าย 4. ควรเลือกส่วนขยายพันธุ์และวัสดุเพาะชำ จากแหล่งที่ไม่มีการระบาดของโรค และไม่มีร่องรอยการติดเชื้อ 5. ตัดแต่งกิ่งหรือแขนงบริเวณโคนต้นออกให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้ดีขึ้น เป็นการลดความชื้น เพื่อป้องกันการระบาดของโรค 6. เก็บใบกิ่งก้านที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น ออกไปทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อไม่ให้เป็นแปล่งสะสมของโรค 7. ตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบพืชเริ่มแสดงอาการของโรค ใช้สาร ดังนี้    ▪ เมทาแลกซิล 25% WP อัตรา 30-50 กรัมต่อน้ํา 20 ลิตร หรือ    ▪ ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม 80% WP อัตรา 30-50 กรัมต่อน้ํา 20 ลิตร พ่นให้ทั่วทั้งต้น และรดดินบริเวณหลุมปลูก และข้างเคียง ทุก 7 วัน ควรหยุดใช้สารก่อน การเก็บเกี่ยว อย่างน้อย 14 วัน 8.หากพบอาการของโรคใบไหม้ ให้ตัดใบที่แสดงอากา

น้ำหมักเปลือกมังคุด

น้ำหมักเปลือกมังคุด

น้ำหมักเปลือกมังคุด จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานีhttps://www.facebook.com/p/สำนักงานเกษตรอำเภอดอนสัก-จังหวัดสุราษฎร์ธานี-100009077983081/?locale=th_TH

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกันยายน 2566

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกันยายน 2566

หนังสือแนะนำเดือนกันยายน 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : https://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517