ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

ทำไมต้อง หยุดเผาในพื้นที่การเกษตร รู้หรือไม่ว่า…การเผา1.ผิดกฏหมาย2.ทำลายแมลงควบคุมศัตรูพืช3.ทำลายดิน ทำให้ดินเสื่อมโทรม4.ทำลายจุลินทรีย์ในดิน5.ทำลายอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี

การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ทางเลือกจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร วิธีทำ : ปุ๋ยแห้งสูตรแม่โจ้1.วางเศษวัสดุทางการเกษตรสลับมูลสัตว์หรือปุ๋ยคอก จนได้ความสูงกองประมาณ 90 ซม.2.รดน้ำบนกองปุ๋ยทุกวัน3.ทุก ๆ 15 วัน เจาะกองปุ๋ยโดยเอาแท่งเหล็กมีรูแทงลงไปในกอง เพื่อเติมอากาศและน้ำ เพื่อช่วยในการย่อยสลาย4.ทำทั้งหมด 6 ครั้ง (ประมาณเดือนที่ 4 ใช้งานได้) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย

การขยายพันธุ์ทุเรียนเสียบยอดด้านข้าง การขยายพันธุ์ทุเรียนเสียบยอดด้านข้าง1.เลือกต้นทุเรียนพื้นเมือง2.เตรียมยอดทุเรียนพันธุ์ดี3.ประกบแผลกิ่งพันธุ์ดีกับต้นตอ4.เชื่อมต่อกิ่งพันธุ์ดีกับต้นตอทุเรียนพื้นเมือง5.ระยะเวลาการเชื่อมต่อรอยแผล6.อนุบาลยอดพันธุ์ดี ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

 3R Model 

เกษตรกรไทยร่วมใจ หยุดเผาในพื้นที่การเกษตรอย่างยั่งยืน : 3 เปลี่ยน 1) เปลี่ยนพฤติกรรม Re-Habitปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกพืชชนิดเดิมแบบไม่เผา โดยการนำเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการเก็บเกี่ยว และส่งเสริม การแปรรูปเพิ่มมูลค่าเศษวัสดุทางการเกษตร เพื่อลดการเผา 2) เปลี่ยนชนิดพืช Replace with High Value Cropsปรับเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูกบนพื้นที่สูง จากพืชไร่เป็นไม้ผล พืชเศรษฐกิจแบบผสมผสานที่มีมูลค่าสูง เช่น

การเปลี่ยนยอดอะโวคาโด “การเปลี่ยนยอดอะโวคาโด” เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะได้สายพันธุ์ที่ตรงกับความต้องการของตลาด ทำให้ได้ต้นอะโวคาโดสายพันธุ์ดี มีวิธีการอย่างไร เชิญรับชมได้จากคลิปวิดิโอกันได้เลยค่ะ จัดทำโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 8 จังหวัดลำพูน

ทำไมต้องขึ้นทะเบียนเกษตรกร สามารถขึ้นทะเบียนเกษตรกรด้วยวิธีใดบ้าง วิธีที่ 1 : แจ้งกับเจ้าหน้าที่ สำหรับเกษตรกรรายเดิม แปลงเดิม1.1 แจ้งข้อมูลได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอทุกแห่ง1.2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมและร่วมเป็นหน่วยสนับสนุน ที่เกษตรกรมีพื้นที่การเกษตรอยู่1.3 แจ้งข้อมูลผ่านผู้นำชุมชน หรือ ตัวแทนอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เกษตรกรรายใหม่ และรายเดิม แต่เพิ่มแปลงใหม่แจ้งข้อมูลได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ ที่ตั้งแปลงที่ทำกิจกรรมการเกษตรอยู่ วิธีที่ 2

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “เกษตรกรปลอดการเผา”  บทที่ 6 การนำเศษวัสดุทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์อื่น ๆ “เศษวัสดุการเกษตรที่หลายคนคิดว่าไร้ค่า สามารถนำมาผลิตเป็นอาหารสัตว์ได้ เช่น การนำเปลือกข้าวโพดนำมาหมักเป็นอาหารสำหรับโค หรือการอัดฟางข้าวเป็นก้อน เพื่อนำไปใช้เป็นอาคารโค กระบือ เป็นต้น” เอกสารประกอบการเรียน : https://doaenews.doae.go.th/wp-content/uploads/2023/11/บทที่-6.pdf ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร AM 1386 KHz.

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “เกษตรกรปลอดการเผา”  บทที่ 5 การนำเศษวัสดุทางการเกษตรมาเป็นปัจจัยทางการผลิต “การนำเศษวัสดุการเกษตรที่เหลือทิ้งในแปลงมาใช้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เช่น นำมาทำปุ๋ยหมัก ถือได้ว่าเป็นทางเลือกที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ เกษตรกรจะสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เองทำให้สามารถลดต้นทุนการผลิตได้” เอกสารประกอบการเรียน : https://doaenews.doae.go.th/wp-content/uploads/2023/11/บทที่-5.pdf ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร AM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

แหนแดง

แหนแดง

แหนแดง แผ่นพับเรื่องแหนแดง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรีhttps://www.facebook.com/people/ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตร-ด้านอารักขาพืช-จังหวัดสุพรรณบุรี/100043336281224/

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

เชื้อราไตรโคเดอร์มา

เชื้อราไตรโคเดอร์มา

เชื้อราไตรโคเดอร์มา แผ่นพับที่ 14/2566 เชื้อราไตรโคเดอร์มา เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF สำหรับพิมพ์