ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน 2567 รายการศูนย์ขยายกระจายข่าว โดยศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช พูดคุยหัวข้อ “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพลังงานทดแทนเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร” https://www.facebook.com/radiothungsongfm97/videos/538759919135860

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 4,630 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

พลูเป็นพืชที่ปลูกได้ทุกสภาพพื้นที่ ดูแลง่ายสามารถปลูกได้ทุกฤดูราคาซื้อขายพลูกินใบขึ้นลงได้ตามภาวะ ราคาตลาด ตั้งแต่ 45-120 บาทต่อกิโลกรัม การปลูกเตรียมไม้ค้าง เนื่องจากพลูเป็นไม้เลื้อยที่ต้องอาศัยเจริญเกาะขึ้นไปกับค้าง ไม้ที่ใช้จะเป็นไม้ไผ่ เพราะไม้ไผ่มีน้ำหนักเบาและมีเนื้อเยื่อไม้ที่เหนียว ทำให้พลูยึดเกาะได้ดี วิธีปลูก ทำการปักไม้ค้างระยะห่างต้น 60 ซม. ขุดหลุมให้ลึก 60 ซม. ขนาด 50×50 ซม. ส่วนดินที่ใส่ลงไปในหลุมให้ผสมมูลวัวด้วย

รวม เคล็ด(ไม่)ลับ ที่กรมส่งเสริมการเกษตร อยากแชร์กับพี่น้องเกษตรกร ด้วยการหยุดเผาพื้นที่เกษตรกรรมด้วยวิธีการที่ยั่งยืน มัดรวมให้แล้วกับองค์ความรู้ต่างๆ ที่สามารถหยิบจับไปใช้งานได้ในพื้นที่ของตัวเอง

ทริคโครแกรมม่า นักล่าไข่ผีเสื้อ วิธีการปล่อยแตนเบียนไข่ทริคโครแกรมม่า แตนเบียนไข่ทริคโครแกรมม่า ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดพิษณุโลก

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรพื้นที่ 2 ลาดกระบัง ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 105 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด เกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi ลักษณะอาการ : จะพบจุดขนาดเล็กสีเขียวฉ่ำน้ำ โดยเฉพาะใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะใบยอดอาการที่เห็นได้ชัดจะพบอาการใบด่างหรือใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับเขียวแก่จะพบส่วนของเชื้อราเป็นผงสีขาวบริเวณใต้ใบ อาการอื่น จะพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นเตี้ยแคระแกร็น ข้อถี่ ไม่ติดฝัก หรือมีฝักที่ติดเมล็ดน้อย/ไม่ติดเมล็ด (ข้าวโพดฟันหลอ) ก้านฝักมีความยาวมาก หรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ **ข้าวโพดอายุ 1- 3 สัปดาห์

ทำนาแบบตัดตอซัง

ทำนาแบบตัดตอซัง ลดต้นทุน ลดเวลาปลูก ผลผลิตเยี่ยม ข้อมูลโดย : คุณอนันต์ ปรางค์โท้ เกษตรตำบลเทพนคร วิธีการตัดตอซัง 1.หลังจากเกี่ยวข้าวแล้ว ให้รีบตัดตอซังภายใน 7 วัน โดยตัดตอข้าวให้สูงเพียง 5-10 ซม. และตีกระจายฟางข้าวให้ทั่ว 2.ปล่อยน้ำเข้าแปลง โดยพิจารณา ดังนี้ 3.การใส่ปุ๋ย

นาบัว บัวฉัตรบงกช สร้างรายได้ ฤดูปลูกบัว : ตลอดทั้งปี การเลือกดินปลูก : เป็นพื้นที่ราบสม่ำเสมอ ดินเป็นดินเหนียวและมีความอุดมสมบูรณ์ การดำและระยะปลูก : หลังเตรียมดินและนำน้ำเข้าแปลง 3-5 วัน เมื่อดินอ่อนตัวจึงปักดำไหลบัว ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ 2×2 เมตร (ในพื้นที่ 1

สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง เปิดอบรม เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช

สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง เปิดอบรม เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช

สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง เปิดรับสมัคร เกษตรกรผู้สนใจเข้าร่วมอบรม เรื่องโรคและแมลงศัตรูพืช หัวข้อการเรียนรู้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 

ประชาสัมพันธ์บริการซ่อมเครื่องจักรกล

ประชาสัมพันธ์บริการซ่อมเครื่องจักรกล

ประชาสัมพันธ์ พี่น้องเกษตรกรจังหวัดพิจิตร ที่ประสบอุทกภัย (น้ำท่วม) และเครื่องจักรกลทางการเกษตรได้รับความเสียหาย สามารถแจ้งความประสงค์ขอรับบริการซ่อมแซมเครื่องจักรกลได้ที่ สำนักงานเกษตรอำเภอใกล้บ้าน **แต่ยังไม่ต้องนำเครื่องจักรกลที่เสียหายมา แจ้งข้อมูลเพียง เมื่อรวบรวมข้อมูลรายชื่อเกษตรกร และเครื่องจักรกล ที่ได้รับความเสียหายครบถ้วนแล้ว จะนัดหมายเพื่อเข้าให้บริการอีกครั้ง โดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกำแพงเพชร ร่วมกับ สำนักงาน เกษตรจังหวัดพิจิตรและสำนักงานเกษตรอำเภอ

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว ปัจจัยการระบาด วิธีการปลูกข้าว : นาหว่านจะมีการระบาดมากกว่านาดำ เพราะมีต้นข้าวหนาแน่นกว่า อุณหภูมิความชื้นเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเพลี้ย การใช้ปุ๋ย : หากใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก ใบข้าวจะเขียวหนาแน่น อวบน้ำ เหมาะแก่การเข้าดูดกินและขยายพันธุ์ของเพลี้ย การควบคุมน้ำในนาข้าว : นาที่มีน้ำขังในนาตลอด จะมีการเพิ่มของเพลี้ยได้มากกว่านาที่มีการระบายน้ำในนาออกเป็นครั้งคราว การใช้สารฆ่าแมลง : หากใช้ในระยะเพลี้ยตัวเต็มวัยหรือช่วงที่อพยพเข้าในนาข้าวใหม่ ๆ ตัวเพลี้ยจะตาย แต่ไข่ของเพลี้ยมีโอกาสรอดสูง การป้องกันกำจัด

โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง

โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง

โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง ปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรค แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567 จัดทำโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย