ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2567/2568 มติ ครม.มติครม. เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2567 ได้เห็นชอบการขอยกเลิกโครงการสนับสนุนปุ๋ยลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว และขอเสนอโครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2567/2568 โครงการฯ และเงื่อนไข วัตถุประสงค์ เป้าหมายเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี “รอบที่ 1” ปีการผลิต 2567/2568 ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร

ขอเชิญเกษตรกรและผู้สนใจ ฝึกอบรมการผลิตพืชพันธุ์ดี ประจำเดือนธันวาคม 2567 หลักสูตร : การผลิตพืชผัก (พริก) หลักสูตร : การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ (อาโวคาโด มะม่วง ลำไย มันสำปะหลัง เสียบยอด ตอนกิ่ง x20) หลักสูตร : การผลิตและเพิ่มมูลค่าพืชทางเลือกกระเจี๊ยบแดง หลักสูตร

โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2567/2568 รายละเอียดโครงการ เกษตรกรสามารถตรวจสอบสถานะการแจ้งเพาะปลูกข้าวปี 2567/2568 ได้ด้วยตนเอง ผ่านเว็ปไซต์ https://efarmer.doae.go.th/checkFarmer รอบการนำส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. หรือผ่านแอพลิเคชัน “ฟาร์มบุ๊ก” (FARMBOOK) หากตรวจสอบแล้วมีข้อมูลการแจ้งเพาะปลูกข้าว แต่ยังไม่ได้รับเงินโครงการฯ โปรดติดต่อทาง ธกส. ได้โดยตรง หรือตรวจเช็คสิทธิ์ออนไลน์กับทาง ธกส. ขั้นตอนการตรวจสอบสถานะการโอนเงินช่วยเหลือชาวนา ไร่ละ

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ไตรมาสที่ 1 พบกับหน่วยบริการต่างๆและกิจกรรมมากมาย อาทิเช่น คลินิกพืช คลินิกดิน คลินิกชลประทาน คลินิกปศุสัตว์ คลินิกประมง คลินิกบัญชี คลินิกข้าว ฯลฯ อย่าลืมมาร่วมงานและใช้บริการกับหน่วยบริการต่างๆภายในงาน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไตรมาสที่ 1 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี

ในสภาพอากาศที่มีน้ำค้างจัด จนถึงช่วงสาย อากาศค่อนข้างเย็น ชาวนาควรระวังการระบาดของโรค โรคขอบใบแห้ง สาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย ลักษณะอาการทำลายระยะกล้าถึงออกรวง อาการพบเป็นแผลช้ำที่ขอบใบ ต่อมาจุดช้ำนี้จะขยายกลายเป็นทางสีเหลืองยาวตามใบข้าว ใบที่เป็นโรค จะแห้งเร็วและสีเขียวจะจางลงกลายเป็นสีเทา ๆ ในกรณีที่ต้นข้าวมีความอ่อนแอต่อโรค ต้นข้าวจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายทั้งต้น การป้องกันกำจัด โรคไหม้ข้าว สาเหตุ : เชื้อรา ลักษณะอาการทำลายระยะกล้าถึงออกรวง

สำนักงานเกษตรอำเภอเกาะยาว รับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการปลูกผัก ถั่วลิสง แตงโม และถั่วเขียว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สนง.เกษตรอำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา 

ลมหนาวมาเยือนแล้วจ้าาา วันนี้ขอชวนพี่น้องเกษตรกรมาอ่านเรื่องราวของ “การปลูกพืช โรคและแมลงศัตรูพืช ในช่วงอากาศหนาว” เพื่อนำข้อมูลไปปรับใช้กับแปลงเกษตรในพื้นที่ของตนเอง ผ่าน 3 เอกสารแนะนำ ดังนี้เลย การปลูกพืชหน้าหนาวคลิกอ่าน : https://bit.ly/4gfSnA4 โรคและแมลงศัตรูพืช ที่ต้องระวังในช่วงอากาศหนาวคลิกอ่าน : https://bit.ly/485wKyR ระวัง 3 โรคข้าวหน้าหนาวคลิกอ่าน : https://bit.ly/41B2LhV

เลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ให้ผลผลิตปังตามมาตรฐาน หมายเหตุ : เพื่อให้สอดคล้องตามมาตรฐาน มกษ.5901 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับมันสำปะหลัง เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

ผีเสื้อมวนหวาน

ผีเสื้อมวนหวาน

ผีเสื้อมวนหวาน ศัตรูสำคัญของลองกองและส้ม จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรเกาตรอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย https://www.facebook.com/profile.php?id=100065526247976

หนอนแมลงวันลาย

หนอนแมลงวันลาย

หนอนแมลงวันลายภัยเงียบฤดูฝนของเกษตรกรผู้เลี้ยงชันโรง จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่ https://www.facebook.com/bee.centercm/posts/pfbid02xfpWDC7PZdGXcoahyshmh8MhnkWXjQ9NnkNMCtXdh8Rh4pMboJhpfHpY5LYcQdNAl หนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly: BSF) ชื่อวิทยาศาสตร์ Hermetia ilucens มักเกิดการระบาดในช่วงหน้าฝนที่มีความชื้นสูง ในรังชันโรงทีมีความอ่อนแอ จะเข้าทำลายในระยะที่เป็นหนอน โดยจะเข้าไปกัดกินอาหารที่ชันโรงสะสมไว้ภายในรัง ได้แก่ ถ้วยน้ำหวาน เกสร มีการเพิ่มปริมาณประชากรอย่างรวดเร็วส่วนใหญ่รังที่ถูกหนอนแมลงวันลาย เข้าทำลายจะล่มสลายอย่างรวดเร็ว วิธีป้องกัน ควรมีขาตั้งอย่างน้อย 1 ฟุต และมีหลังคาวางกันฝนด้านบนเพื่อป้องกันน้ำเข้ามาในรัง และปากทางเข้ารังควรทำให้น้ำไม่สามารถเข้าได้ และหลีกเลี่ยงการนำรังไว้ในที่ที่มีความชื้นสูง นอกจากนั้นแล้วในรังที่มีประชากรผึ้งงานน้อยควรมีการเติมกลุ่มไข่แก่จากรังที่แข็งแรงและเป็นชันโรงชนิดเดียวกันเข้าไปเพิ่มเพื่อช่วยเพิ่มปริมาณผึ้งงานในการดูแลจัดการรังได้ดียิ่งขึ้น ในกรณีที่พบว่ารังเลี้ยงชันโรงถูกหนอนแมลงวันลายเข้าทำลายแต่เป็นระยะเริ่มต้นคือกัดกินถ้วยอาหารภายในรังได้แก่ ถ้วยเกสรและถ้วยน้ำหวานยังไม่ลามมาถึงกลุ่มไข่ สามารถช่วยเหลือรังนี้ได้ด้วยการย้ายกลุ่มไข่แยกจากรังเดิมออกมาใส่ในรังใหม่ โดยอย่าให้หนอนแมลงวันลายติดมาด้วย และเติมอาหารให้โดยตัดจากรังอื่นมาใส่แทนเพื่อป้องกันการขาดอาหารแล้ววางรังนี้ในจุดเดิมให้ประชากรผึ้งวัยสนามกลับเข้ารังใหม่นี้ได้ จากนั้นนำรังเดิมย้ายออกมาและจัดการกับหนอนที่เข้าทำลายโดยการเผาทำลายให้หมดเพื่อป้องกันการลามไประบาดยังรังอื่นๆที่อ่อนแอในบริเวณใกล้เคียงภายในฟาร์ม โดยในช่วงฤดูฝนควรมีการตรวจเช็ครังชันโรงอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (ที่มา : ชันโรงแมลงตัวจิ๋วแต่ประโยชน์มหาศาล ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่) สำหรับหนอนแมลงวันลายนั้นเมื่อเข้ามาในรังชันโรงจะนับได้ว่าเป็นศัตรูชนิดหนึ่งที่สร้างปัญหาให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงชันโรงไม่น้อยแต่ในทางกลับกันหนอนแมลงวันลายนั้นก็เป็นแมลงที่ให้โปรตีนสูงสำหรับเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ ไม่เป็นพาหะนำโรค และสามารถกำจัดขยะได้ดี แต่ต้องมีการเลี้ยงในรูปแบบโรงเรือนปิดที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบ

โรคไหม้ข้าว

โรคไหม้ข้าว

โรคไหม้ข้าว จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลกhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

ค่าMRLค่า ADI

ค่าMRLค่า ADI

มาทำความรู้จักกับค่า MRL และค่า ADI สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ราแป้งในเงาะ

ราแป้งในเงาะ

การวินิจฉัยโรคราแป้งในเงาะ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย