ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ทริคโครแกรมม่า นักล่าไข่ผีเสื้อ วิธีการปล่อยแตนเบียนไข่ทริคโครแกรมม่า แตนเบียนไข่ทริคโครแกรมม่า ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดพิษณุโลก

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรพื้นที่ 2 ลาดกระบัง ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 105 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด เกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi ลักษณะอาการ : จะพบจุดขนาดเล็กสีเขียวฉ่ำน้ำ โดยเฉพาะใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะใบยอดอาการที่เห็นได้ชัดจะพบอาการใบด่างหรือใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับเขียวแก่จะพบส่วนของเชื้อราเป็นผงสีขาวบริเวณใต้ใบ อาการอื่น จะพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นเตี้ยแคระแกร็น ข้อถี่ ไม่ติดฝัก หรือมีฝักที่ติดเมล็ดน้อย/ไม่ติดเมล็ด (ข้าวโพดฟันหลอ) ก้านฝักมีความยาวมาก หรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ **ข้าวโพดอายุ 1- 3 สัปดาห์

ทำนาแบบตัดตอซัง

ทำนาแบบตัดตอซัง ลดต้นทุน ลดเวลาปลูก ผลผลิตเยี่ยม ข้อมูลโดย : คุณอนันต์ ปรางค์โท้ เกษตรตำบลเทพนคร วิธีการตัดตอซัง 1.หลังจากเกี่ยวข้าวแล้ว ให้รีบตัดตอซังภายใน 7 วัน โดยตัดตอข้าวให้สูงเพียง 5-10 ซม. และตีกระจายฟางข้าวให้ทั่ว 2.ปล่อยน้ำเข้าแปลง โดยพิจารณา ดังนี้ 3.การใส่ปุ๋ย

นาบัว บัวฉัตรบงกช สร้างรายได้ ฤดูปลูกบัว : ตลอดทั้งปี การเลือกดินปลูก : เป็นพื้นที่ราบสม่ำเสมอ ดินเป็นดินเหนียวและมีความอุดมสมบูรณ์ การดำและระยะปลูก : หลังเตรียมดินและนำน้ำเข้าแปลง 3-5 วัน เมื่อดินอ่อนตัวจึงปักดำไหลบัว ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ 2×2 เมตร (ในพื้นที่ 1

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 770 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดงาน ” วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ” เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา องค์ราชา สืบสาน รักษา ต่อยอด พระบิดาแห่งฝนหลวง

ปุ๋ยไนโตรเจน ทำไมมีหลายสูตรจัง? รูปแบบของไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์กับพืชและดูดใช้งานได้ ประกอบด้วย ปุ๋ยไนโตรเจนที่มักพบในท้องตลาด การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนลงในดินต้องปฏิบัติอย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะการเลือกชนิดของปุ๋ยไนโตรเจน ปริมาณที่ใช้ จำนวนครั้งในการแบ่งใช้ ตลอดจนช่วงเวลาที่เหมาะสมในการใช้ ทั้งนี้ควรคำนึงถึงชนิดของพืช อายุของพืช และชนิดของดินด้วย การใช้ในปริมาณที่มากเกินความต้องการของพืชอาจส่งผลให้เป็นพิษต่อพืช และเป็นการสิ้นเปลือง เพิ่มต้นทุนการผลิต เนื่องจากเกินความสามารถของพืช ในการกักเก็บของดินและการดูดใช้ของพืช จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

เพลี้ยไฟฝ้าย ในพืชตระกูลแตง ชนิดพืชที่อาจเกิดผลกระทบแตงโมและพืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีนและบวบ ปัญหาที่ควรระวังเพลี้ยไฟฝ้าย ระยะการเจริญเติบโตของพืชในช่วงนี้ทุกระยะการเจริญเติบโต ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดอ่อนในระยะแตงโมทอดยอด ทำให้ชะงักการเจริญเติบโตลักษณะอาการที่เกิดจากเพลี้ยไฟฝ้ายเรียกว่า “ยอดตั้ง” หากเพลี้ยไฟฝ้ายระบาดในช่วงอายุ 1

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานของกรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี 2567 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้กรมส่งเสริมการเกษตร นำไปทอดถวายยังที่ชุมนุมสงฆ์ ณ วัดอุดมธานี (พระอารามหลวง)

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด ระยะการเจริญเติบโตของพืชในช่วงนี้เริ่มปลูก-อายุ ประมาณ 30 วัน (เป็นระยะที่อ่อนแอต่อโรคนี้มาก) ปัญหาที่ควรระวังโรคราน้ำค้าง : เชื้อรา Peronosclerospora sorghi ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1.ควรใช้พันธุ์ต้านทาน และคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น 2.ในแหล่งที่เคยมีการระบาดของโรค หากพบว่ามีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคคืออุณหภูมิต่ำและความชื้นสูง เมื่อข้าวโพด อายุ 5-7 วัน

ผู้รับบริการสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ วันที่ 7 เมษายน 2566 ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร

ผู้รับบริการสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ วันที่ 7 เมษายน 2566 ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร

วันที่ 15 มีนาคม 2566 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ขอรับบริการสื่อเอกสารคำแนะนำ จำนวน 3385

ผู้รับบริการ วันที่ 10 มีนาคม 2566 ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร

คุณนิวัฒน์ ล้วนใจบุญธรรม วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 คุณนิวัฒน์ ล้วนใจบุญธรรม

สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท วันที่ 6 มกราคม 2566 สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท ขอรับบริการสื่อเอกสารคำแนะนำ จำนวน