ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

การทำตลาด เกษตรกรต้องมองถึงอนาคต การสร้างตลาด คือ สร้างประสบการณ์ให้เกษตรกรพบเจอผู้บริโภค ทำให้รู้ว่าผู้บริโภคต้องการสินค้าแบบใด เรียนรู้และปรับตัวไปด้วยกัน ผู้บริโภคต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับไปถึงกระบวนการผลิตได้ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

นักส่งเสริมการเกษตร เป็นความคาดหวังของเกษตรกร เราจะเป็นโค้ช เพื่อต่อยอดพัฒนาด้านต่าง ๆ ให้เกษตรกรเป็นเกษตรกรชั้นนำ สมความคาดหวังของสังคม นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

Landscape Design การออกแบบพื้นที่เพาะปลูกโดยจัดการที่ดิน น้ำ อย่างเหมาะสม จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

3 แนวคิดหลัก ที่จะปรับโฉมภาคเกษตรไปสู่อนาคต 1. ใช้เทคโนโลยีและวิธีการเกษตรที่ทันโลก เพื่อรับมือกับ Climate Change2. เปลี่ยนใช้เทคโนโลยีอย่างเข้มข้น แทนแรงงาน เพื่อเพิ่มผลผลิต และเข้าถึงตลาด3. ปรับจากปลูกพืชเชิงเดี่ยวไปสู่พืชที่หลากหลาย เพื่อให้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19

เกษตรกรไทย อายุเฉลี่ย 59 ปี นักส่งเสริมการเกษตร ต้องปรับกระบวนการเรียนรู้ อบรมให้เหมาะสมกับวัย เพิ่มเกษตรกรรุ่นใหม่ ส่งเสริมการใช้เครื่องจักร และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

โลกร้อนขึ้น เกษตรกรต้องปรับตัว ด้วยต้นทุน ความรู้ แรงงาน และเทคโนโลยี นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

Climate Change ไม่ใช่แค่คำ Fashion ต้องตระหนัก เห็นก่อน รู้ก่อน จะลดความเสียหายได้ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

“นักส่งเสริมการเกษตรกว่าหมื่นคน ต้องปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ เพื่อพาเกษตรกรกว่าล้านคนไปสู่เป้าหมาย” นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

เตือนเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เฝ้าระวังการระบาดของหนอนหัวดำในมะพร้าวและพืชตระกูลปาล์ม เตือนเกษตรกรเฝ้าระวังการเข้าทำลายของหนอนหัวดำในมะพร้าว/ปาล์มน้ำมัน สามารถพบได้ทั้งในระยะที่ยังไม่ให้ผลผลิตและให้ผลผลิตแล้ว จะพบตัวหนอนเข้าทำลายแทะกินผิวใต้ทางใบ จากนั้นตัวหนอนจะถักใยโดบใช้มูลที่ถ่ายออกมาผสมเส้นใยที่สร้างขึ้นมาทำอุโมงค์คลุมลำตัวยาวตามใต้ทางใบ ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ภายในอุโมงค์ที่สร้างขึ้นและแทะกินผิวใบแก่ การป้องกันกำจัด 1.ตัดใบที่มีหนอนหัวดำลงทำลาย นำลงมาเผาหรือฝังทำลาย 2.การพ่นด้วยชีวภัณฑ์ “บีที” ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ใช้ในการควบคุมหนอนผีเสื้อศัตรูพืช อัตรา 100 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมด้วยสารจับใบ 5 มิลลิลิตร ฉีดพ่นต้นละ

ด้วงงวงมะพร้าว

ด้วงงวงมะพร้าว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhynchophorus ferrugineus การเข้าทำลายมักพบการเข้าทำลายตามรอยทำลายของด้วงแรดมะพร้าว โดยด้วงงวงมะพร้าว จะวางไข่บนแผลบริเวณลำต้น หรือบริเวณยอดต้นมะพร้าวที่ด้วงแรดเจาะทำลายไว้ หากถูกด้วงงวงมะพร้าวเข้าทำลายจำนวนมาก มะพร้าวจะมีอาการยอดอ่อนเหี่ยวแห้ง ใบเหลืองหักพับ บางครั้งพบการเข้าทำลายที่โคนลำต้น ทำให้ต้นตาย การป้องกันกำจัด วิธีเขตกรรมทำความสะอาดบริเวณสวนมะพร้าว เพื่อกำจัดแหล่งขยายพันธุ์ของด้วงแรด หากพบหนอนหรือดักแด้ด้วงงวงมะพร้าวให้จับมาทำลาย วีธีกลใช้เหล็กยาวปลายเป็นตะขอแทงเข้าไปในต้นเพื่อเกี่ยวตัวหนอนออกมาทำลาย และทาบริเวณรอยแผลด้วยสารทาร์ (เป็นส่วนผสมของน้ำมันเครื่อง 1