ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

กล้วยนาก

กล้วยนาก คุณสมบัติที่โดดเด่นของพันธุ์พืช คือ เปลือกกล้วยสีออกสีนาก คือสีอมแดงค่อนข้างคล้ำ เนื้อผลสุกมีรสชาติคล้ายกล้วยหอม อมเปรี้ยวเล็กน้อย  ที่มา : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ สี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช

กล้วยนาก

ต้นพันธุ์กล้วยนาก กล้วยหายาก ขยายพันธุ์จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต้นพันธุ์สะอาด ปลอดโรค ตรงตามสายพันธุ์ ต้นละ15บาท เท่านั้น โทรสั่งจองที่ คุณอัตตศาสตร์ (บ่าว) 0872632743 ที่มา : https://www.facebook.com/profile.php?id=100040356164448

จันทร์นี้ชวนชาวเมืองเสริมทักษะ ปลูกผักในพื้นที่จำกัดไปด้วยกัน ถึงแม้จะมีพื้นที่ภายในบ้านจำกัด แต่สามารถปลูกผักได้หลากหลายชนิดไม่จำกัดน้าาาา เช่น แตงกวา ผักสลัด พริก มะเขือ ต้นหอม สะระแหน่ ผักบุ้งฯ การปลูกผักแบบนี้นอกจากจะประหยัด ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์เเล้ว ยังมีผักสดๆ แบบปลอดสารไว้ทานในครัวเรือนอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้

จุลินทรีย์ขุยไผ่

จุลินทรีย์ขุยไผ่ ดินขุยไผ่ เป็นดินที่นิยมนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรกันอย่างแพร่หลาย เพราะดินขุยไผ่มีลักษณะร่วน มีอินทรีย์วัตถุสูง มีจุลินทรีย์และเชื้อราต่าง ๆ ในดิน โดยเฉพาะเชื้อราไตรโคเดอร์มา (Trichoderma) ซึ่งเป็นเชื้อราที่มีประโยชน์ในการควบคุมจุลินทรีย์และเชื้อราที่ก่อให้เกิดโรคพืชบางชนิดเช่นเชื้อราที่เป็นสาเหตุโรครากเน่าและโคนเน่าได้ ขั้นตอนการทำจุลินทรีย์ขุยไผ่เพื่อใช้เพื่อใช้ย่อยสลาย ปุ๋ยหมัก,ตอซังข้าว การต่อเชื้อจุลินทรีย์ลงน้ำ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดเชียงราย

การฟื้นฟูมะพร้าวหลังน้ำลด ถูกน้ำท่วม 7-14 วัน ไม่เกิดความเสียหาย รอดินแห้ง ดูแลตามปกติ อาการหลังน้ำลด ประเมิน แก้ไข ฟื้นฟู ข้อสังเกตุ เรียบเรียงโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร

อาการผิดปกติของพืชเกิดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อราสาเหตุและส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ถูกเข้าทำลาย ผลเกิดจุดแผล ยุบตัว เน่า อาจพบส่วนของเชื้อรา (สปอร์/เส้นใย) และเมล็ดอ่อนนุ่ม สีผิดปกติ ใบเกิดแผลจุด/แผลไหม้/แผลเป็นแถบตามความยาวของใบ อาจพบส่วนของเชื้อรา (สปอร์/เส้นใย) บนจุดแผล หรือด้านใต้ใบ ลำต้น/กิ่งเกิดอาการเน่า เริ่มจากระบบราก โคนต้น ระบบท่อลำเลียง/เนื้อไม้ เปลี่ยนสี ยางไหล ใบเหลืองร่วง

Ep.7 อารักขาพืชห่วงใย เตือนภัยเกษตรกร เล่าเรื่องฟันเฟืองเกษตร Ep.7 เกษตรเขต 5 ขอเชิญติดตามรับชมรับฟัง FB Live #เล่าเรื่องฟันเฟืองเกษตร  26 พ.ค. 67 เวลา 10.00-10.40 น. Ep.7 อารักขาพืชห่วงใย เตือนภัยเกษตรกร โดย บุสยา ปล้องอ่อน

ขอเชิญชวนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน โดยสามารถติดตามและตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกร Online ด้วยตนเอง ผ่านช่องทาง ดังนี้ เพื่อรักษาสิทธิ์ รับโอกาส และการช่วยเหลือจากภาครัฐ เช่น โครงการปุ๋ยคนละครึ่ง โดยสามารถติดตามความเคลื่อนไหวโครงการได้จากข่าวสารของทางรัฐบาล

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษาข้าวในช่วงฤดูฝน โรคข้าวที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน : โรคจากเชื้อรากลุ่มโรคจากเชื้อราพบได้บ่อยในช่วงฤดูฝน อาทิเช่น โรคไหม้ โรคถอดฝักดาบ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคลำต้นเน่า แนวทางป้องกัน : ป้องกันด้วยการใช้สารชีวภัณฑ์ฉีดพ่นเพื่อควบคุมโรค อาทิเช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มาหรือเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษาพืชผักในช่วงฤดูฝน แนวทางดูแลรักษาพืชผักในช่วงฤดูฝน 1. หมั่นตรวจดูแปลงพืชผักสม่ำเสมอ2. ระบายน้ำในแปลงให้ไหลสะดวกไม่ท่วมขัง3. ใช้วัสดุคลุมแปลง เพื่อป้องกันหน้าดินและรากพืช4. เพิ่มปริมาณปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพื่อเพิ่มช่องว่างในดิน5. รดน้ำด้วยน้ำปูนใส สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง6. เฝ้าระวังโรคและแมลง หากพบให้ใช้สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัด7. กำจัดวัชพืชในแปลง แต่งทรงพุ่ม ค้ำยันต้น โรคพืชผักที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน :

ทำการเกษตรในเมือง เพิ่มพื้นที่สีเขียว จัดการพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตคนเมือง” เจ้าหน้าที่และผู้มารับบริการ ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมเรียนรู้รูปแบบการส่งเสริมการเกษตรในเมือง ในประเด็น

วันที่ 11 กันยายน 2566 ผู้ใช้บริการ ณ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ผู้รับบริการ ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2566

วันที่ 6 กันยายน 2566 ดีเจภูมิ (ภูมิใจ ตั้งสง่า)  ขอรับบริการสื่อเอกสารคำแนะนำ/แผ่นพับ สำหรับเพื่อศึกษาและเรียนรู้

บันทึกเทปสัมภาษณ์ในประเด็นการส่งเสริมและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับของกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 23 สิงหาคม 2566 นายรพีทัศน์ อุ่นจิตตพันธ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 ผู้รับบริการ ณ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร