ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

เทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งในนาข้าว การทำนาเปียกสลับแห้ง คือ การทำนาโดยควบคุมระดับน้ำในแปลงนาให้มีช่วงน้ำขัง กับช่วงน้ำแห้งสลับกันในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้รากและลำต้นของต้นข้าวแข็งแรงขึ้น เนื่องจากดินและรากได้รับอากาศพอ ก็สามารถดูดปุ๋ยได้ดีขึ้น ทำให้ลดการใช้ปุ๋ย 1.การเตรียมดิน ปรับพื้นที่ให้เรียบสม่ำเสมอและสามารถจัดระบบน้ำได้ 2.การติดตั้งท่อพีวีซี (PVC) เพื่อดูระดับน้ำ เตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 25 ซม. เจาะรูห่างกัน

รายการสื่อที่ให้บริการ
รายการสื่อที่ให้บริการ

รายชื่อแผ่นพับที่ให้บริการ

  1. การพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีและเครือข่ายในงานส่งเสริมการเกษตร 
  2. พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
  3. การสร้างความมั่นคงด้านอาหารของกรมส่งเสริมการเกษตร 
  4. การปรับตัวของเกษตรกรในสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง
  5. การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งหลังนา
  6. การปลูกบัว
  7. ฉลากและบรรจุภัณฑ์อาหาร
  8. การจัดทำแผนประกอบการวิสาหกิจชุมชน
  9. การทำสวนไม้ผลเขตร้อนขั้นพื้นฐาน
  10. ไม้ประดับในอาคาร
  11. การจัดการศัตรูมะม่วงด้วยวิธีอบไอน้ำ
  12. การให้น้ำในสวนปาล์มน้ำมัน
  13. การปฏิบัติดูแลสวนไม้ผลแบบยกร่องในระหว่างถูกน้ำท่วมขัง
  14. เทคนิคที่สำคัญในการผลิตสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ
  15. การปลูกเผือก 
  16. การผลิตเงาะนอกฤดู
  17. การผลิตลองกองนอกฤดู
  18. การผลิตมังคุดนอกฤดู
  19. การฟื้นฟูแปลงและการปลูกผักหลังน้ำลด
  20. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผึ้ง
  21. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
  22. การปลูกพืชไร่หลังนา
  23. มันแกว
  24. เผือกหอม
  25. ถั่วลันเตา
  26. การฟื้นฟูดอกไม้ประดับหลังประสบอุทกภัย
  27. เทคนิคที่สำคัญในการผลิตสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ
รายการสื่อที่ให้บริการ

รายชื่อเอกสารที่ให้บริการ

  1. การจัดการไร่นา 
  2. การแปรรูปผัก ผลไม้ เพื่อเพิ่มมูลค่า 
  3. เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตรในการเตรียมดินที่ดีเพื่อลดการเกิดวัชพืช 
  4. การป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูมันสำปะหลัง
  5. ถอดบทเรียนเกษตรกรดีเด่น สาขาอาชีพไร่นาสวนผสม ประจำปี 2561
  6. การวินิจฉัยศัตรูพืช (ยางพารา)
  7. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  8. ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
  9. เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ
  10. การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า…ในการปลูกพืชผักและพืชสมุนไพร
  11. แก้วมังกร
  12. ผลิตภัณฑ์ลำไย
  13. มะเขือม่วง
  14. มะม่วง
  15. การปลูกถั่วเหลืองในฤดูแล้ง
  16. การแปรรูปอาหารโปรตีนจากพืช