ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ผักปลูกง่ายได้กินใน 60 วัน 4 วัน : ถั่วงอก 7 วัน : เห็ดนางฟ้า ต้นอ่อนผักบุ้ง ต้นอ่อนทานตะวัน 30 วัน : ผักบุ้ง โหระพา แมงลัก กะเพรา สะระแหน่ 40

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ “ข้อสังเกตก่อนซื้อทุเรียน” ในฤดูกาลปกติ ประเทศไทยมีทุเรียนออกสู่ตลาดประมาณเดือน เม.ย.-ก.ย. นอกจากนี้มีเกษตรกรบางส่วนผลิตทุเรียนนอกฤดู ช่วยสร้างรายได้ให้มากขึ้น หลีกเลี่ยงความเสี่ยงราคาผลผลิตตกต่ำในช่วงผลผลิตออกมากตามฤดูกาล โดยพื้นที่ภาคตะวันออกสามารถเก็บเกี่ยวได้ ตั้งแต่เดือน ก.พ.- มี.ค. ส่วนพื้นที่ภาคใต้สามารถเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือ ธ.ค.- ก.พ. 5 ข้อสังเกตก่อนซื้อทุเรียนคลิกอ่าน : https://bit.ly/42Tgsr5 ชาวสวนไม่ตัด ผู้บริโภคไม่ซื้อ ทุเรียนอ่อนคลิกอ่าน

ระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense” HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ ผนวกเทคโนโลยีเซนเซอร์ตรวจวัดสภาพแวดล้อมทางการเกษตรและระบบควบคุมการทำงานอัตโนมัติได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่ายทนทานต่อสภาพแวดล้อม สามารถเข้าใจ HandySense ได้เพิ่มขึ้น คลิกเพิ่มเติมจากลิงก์ด้านล่างได้เลยค่ะ Handy sense เกษตรอัจฉริยะรับชม : https://bit.ly/40ZOp8Q เพิ่มรายได้ เพิ่มผลผลิต ด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense”คลิกอ่าน : https://bit.ly/4b6ED9A

เกร็ดความรู้สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงครั่ง หลังจากปล่อยครั่งไปแล้ว 1 เดือน ครั่งจะขับถ่ายมูลหวาน ออกมาจากช่องขับถ่าย หากเกษตรกรที่ปล่อยครั่งบนต้นจามจุรีที่มีขนาดใหญ่ อาจจะสังเกตการเจริญเติบโตของครั่งได้ยาก ดังนั้นเรามีเทคนิคในการสังเกตครั่งมาฝากกันค่ะ 1.ไม้อาศัยต้นเตี้ย ก็จะเห็นการเจริญเติบโตของครั่งได้ชัดเจน มีการสร้างไขสีขาว และการขับน้ำหวานที่มีสีใสออกมา เมื่อสัมผัสอากาศนาน ๆ ก็จะเริ่มแข็งตัวและเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สีทอง สีน้ำตาล 2.ไม้อาศัยต้นใหญ่และมีความสูงมาก เราอาจจะสังเกตได้ดังนี้ เรียบเรียง :

แมลงศัตรูพืชในฤดูร้อนที่ต้องระวัง ฤดูร้อนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด เช่น คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก บรอกโคลี กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดหอม ฯลฯ ต้องเผชิญกับศัตรูพืชต่าง ๆ เพราะด้วยสภาพอากาศที่มีความชื้นต่ำติดต่อกันยาวนานหลายเดือน นับเป็นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแมลงศัตรูพืช ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพืชที่ปลูกได้ โดยแมลงศัตรูพืชที่พบมากในช่วงอากาศร้อน เช่น เพลี้ยอ่อน ด้วงหมัดผัก หนอนใยผัก และหนอนกระทู้ผัก

ส่งเสริมไม่เผาด้วย 3R Model น้ำหมักย่อยสลายฟาง “จุลินทรีย์หน่อกล้วย” วัตถุดิบ วิธีทำ การนำไปใช้ใช้น้ำหมักชีวภาพอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร ราดลงในแปลงข้าวเพื่อช่วยให้ตอซังข้าวย่อยสลายได้ง่าย หมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วจึงปั่นดินนาทำเทือกเพื่อเตรียมเพาะปลูกข้าวครั้งใหม่ต่อไป เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

แคดเมียน (CADMIUM) คืออะไร??แคดเมียนเป็นแร่โลหะชนิดหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติ โดยอาจมาจากวัตถุต้นกำเนิดดิน การทำเหมืองแร่ โรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหิน การทำแบตเตอรี่ การใช้ปุ๋ย และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเกษตร และสามารถพบแคดเมียมปนเปื้อนได้ในอาหารและน้ำ การปนเปื้อนโลหะหนักในดิน มีสาเหตุมาจากกิจกรรมทางการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น การทิ้งของเสียโดยไม่มีการจัดการอย่างเหมาะสม ทำให้เกิดการตกค้างและสะสมโลหะหนักในดิน เช่น สารหนู แคดเมียม ตะกั่ว ปรอท เป็นต้น

แมลงสิง ศัตรูข้าวระยะออกรวง รูปร่างลักษณะ ลักษณะการทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านอารักขาพืชและดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ขอเชิญชวนร่วมงานรณรงค์สร้างการรับรู้และการเรียนรู้การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Day)  พบกับกิจกรรมที่น่าสนใจภายในงาน สถานีเรียนรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการออกร้านจำหน่ายสินค้าจากเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรต่าง ๆ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัด สุราษฎร์ธานี

ขอเชิญชวนผู้ที่สนใจ แวะท่องเที่ยวเชิงเกษตร ถ่ายรูปกับทุ่งทานตะวัน

ขอเชิญชวนผู้ที่สนใจ แวะท่องเที่ยวเชิงเกษตร ถ่ายรูปกับทุ่งทานตะวัน

กรมส่งเสริมการเกษตร  โดยสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองลพบุรี ขอเชิญชวนผู้ที่สนใจ แวะท่องเที่ยวเชิงเกษตร ถ่ายรูปกับทุ่งทานตะวัน ชมวิวในบรรยากาศหุบเขาทุ่งทานตะวัน หรือจะขี่จักรยาน นั่งรถชมวิวก็สนุกได้ไม่แพ้กัน และก่อนกลับก็แวะเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกสุดน่ารักกลับไปฝากคนที่บ้าน ในเทศกาลทุ่งทานตะวัน เขาจีนแล ลพบุรี  ใครไปแล้ว อย่าลืมนำภาพมาอวดกันด้วยนะคะ  ตั้งแต่วันนี้ ไปจนถึง 30 มกราคม 2566 สถานที่แนะนำ >>>ทุ่งทานตะวันไร่วิชาญช่วงเวลาบาน 12 พฤศจิกายน 2565 – 15 มกราคม 2566ติดต่อ 089 615 2563https://maps.app.goo.gl/gPbwV6WzWfaugADu7?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่ฟ้าใสช่วงเวลาบาน 12 พฤศจิกายน – 30 ธันวาคม 2565ติดต่อ 061 676 8503https://maps.app.goo.gl/tAT5iaTQDK5hLzuW9?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่จำรัสช่วงเวลาบาน 15 – 30 ธันวาคม 2565ติดต่อ 089 813 5361https://maps.app.goo.gl/wjq1uPn159zqg53B9?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่กิมเฮียงช่วงเวลาบาน 27 ธันวาคม 2565 – 15 มกราคม 2566ติดต่อ 080 665 1613https://maps.app.goo.gl/Lf4aqtLexsbyBqfv6?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่คุณเก่งช่วงเวลาบาน 25 ธันวาคม 2565 – 10 มกราคม 2566ติดต่อ 061 019 9887https://maps.app.goo.gl/VFjH4fBZaqfP79hX7?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่ป้าอึ่งลุงหมึกช่วงเวลาบาน 10 – 25 ธันวาคม 2565ติดต่อ 094 419 1285https://maps.app.goo.gl/Ws5S5bmfHSkChmtr7?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่เปรมปรีช่วงเวลาบาน 25 ธันวาคม 2565 – 18 มกราคม 2566ติดต่อ 086 038 0920https://maps.app.goo.gl/RnmdnMey2M4A2Wss8?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่แป้งหอมช่วงเวลาบาน 27 ธันวาคม 2565 – 15 มกราคม 2566ติดต่อ 081 286 4280https://maps.app.goo.gl/RnmdnMey2M4A2Wss8?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่พ่อไหมแม่ไก่ช่วงเวลาบาน 10 – 25 มกราคม 2566ติดต่อ 099 449 7164https://maps.app.goo.gl/bihp47omcAgb7mzm9?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่ลุงไสวช่วงเวลาบาน 20 พฤศจิกายน – 5 ธันวาคม 2565ติดต่อ 062 357 9388https://maps.app.goo.gl/gwZMkTNdaqH8NRN6A?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่วันชัยช่วงเวลาบาน 15 – 30 พฤศจิกายน 2565ติดต่อ 064 656 9225https://maps.app.goo.gl/Dd9NMcDMb3jNXLTt8?g_st=il ทุ่งทานตะวันไร่วิรัชช่วงเวลาบาน 30 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2565ติดต่อ 061 642 7664https://maps.app.goo.gl/wthHVs5oC8aEV2S47?g_st=il ทุ่งทานตะวันสนามโดดร่มช่วงเวลาบาน 16 ธันวาคม 2565 – 1 มกราคม 2566ติดต่อ 093 582 1735https://maps.app.goo.gl/s7J9unWpqZ1CYDK66?g_st=il ศูนย์ข่าวกรมส่งเสริมการเกษตร https://doaenews.doae.go.th/archives/14937

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

แผ่นพับที่ 4/2561 เรื่อง การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลด PDF.