ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ลักษณะทั่วไปของสตรอว์เบอร์รี่Strawberry: Fragaria ananassa เกิดจากการผสมข้ามระหว่าง F.chiloensis และ F.virginiana อยู่ในวงศ์ Rosaeae มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ เป็นพืชเขตหนาว อายุ 3 ปี ประกอบด้วย ลำต้น แตกกอเป็นพุ่มเตี๊ย 6-8 นิ้ว ทรงพุ่มกว้าง 8-12 นิ้ว

มะลิ ดอกไม้แห่งคุณค่า สร้างโอกาส สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร สายพันธุ์มะลิที่นิยมปลูกเป็นการค้ามะลิที่นิยมปลูกเพื่อใช้สําหรับเป็นการค้าโดยส่วนใหญ่ ได้แก่ มะลิลา ซึ่งมะลิลา จะมี 3 สายพันธุ์ที่เป็นพันธุ์ส่งเสริม ได้แก่ พันธุ์เเม่กลอง มีลักษณะทรงพุ่มใหญ่ หนาเเละเเน่นทึบ เจริญเติบโตเร็ว ดอกใหญ่กลมเเละมีช่อดอก 1 ชุด ชุดละ 3 ดอก

สูตรปุ๋ยสำคัญอย่างไร ทำไมเกษตรกรต้องเข้าใจก่อนใช้? เพราะ การใช้ปุ๋ย ถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกเวลา และถูกวิธี ช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ โพสต์เดียวครบ ปุ๋ยคืออะไร , ปุ๋ยสำคัญอย่างไร , การใช้ปุ๋ยอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด , การใช้ปุ๋ยแบบผสมผสาน , ขอคำแนะนำเรื่องปุ๋ย คลิกอ่านในอัลบั้มเล้ยยย

ดอกมะลิ

ดอกมะลิ สายพันธุ์มะลิที่นิยมปลูกเป็นการค้ามะลิที่นิยมปลูกเพื่อใช้สําหรับเป็นการค้าโดยส่วนใหญ่ ได้แก่ มะลิลา ซึ่งมะลิลา จะมี 3 สายพันธุ์ที่เป็นพันธุ์ส่งเสริม ได้แก่ พันธุ์เเม่กลอง มีลักษณะทรงพุ่มใหญ่ หนาเเละเเน่นทึบ เจริญเติบโตเร็ว ดอกใหญ่กลมเเละมีช่อดอก 1 ชุด ชุดละ 3 ดอก พันธุ์ราษฎ์บูรณะ ลักษณะ ทรงพุ่มเล็กกว่าพันธุ์แม่กลองเเละค่อนข้างทึบ

โรคโคนเน่า-รากเน่าในมันสำปะหลัง เกิดจากเชื้อราไฟทอปธอรา (Phythopthora meadii) เป็นเชื้อราในดินมันสำปะหลังจะแสดงอาการตั้งแต่อายุ 3 เดือนขึ้นไป โดยเชื้อจะเข้าสู่โคนต้นก่อน ทำให้เกิดอาการบวมพองและมีปุ่มรากที่โคนต้นเหนือผิวดิน จากนั้นเชื้อจะลามลงไปที่รากและก้านขั้วหัวมันส่วนอาการเหนือดิน สังเกตได้จากใบเริ่มซีดเหลือง จากนั้นใบล่างเริ่มแสดงอาการเหี่ยวและแห้งคาต้น เมื่อถอนต้นรากและหัวเน่า แต่ลำต้นยังเป็นปกติ หากเกาตรกรตัดต้นไปขายเป็นท่อนพันธุ์ จะทำให้เชื้อสามารถแพร่ขยายได้ในวงกว้าง การป้องกันกำจัด ในกรณีที่พบการระบาดของโรครุนแรง ควรปฏิบัติดังนี้ จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

นายประสิทธิ์ รูปเอี่ยม เกษตรกรต้นแบบเกษตรเขตเมืองอัจฉริยะ อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นเกษตรกรที่สามารถปรับตัวและปรับแนวทางการทำเกษตรให้อยู่ร่วมกับชุมชนเมืองได้ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว (ทำนา) มาเป็นการทำเกษตรระบบไร่นาสวนผสม มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกที่มีการผสมผสานกัน ทั้งการทำนาและทำสวนได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มีการจัดการผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรที่แน่นอน ก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี และสามารถพัฒนาเป็นฟาร์มเกษตรอัจฉริยะได้ในอนาคต การจัดสรรพื้นที่ทำการเกษตรระบบไร่นาสวนผสม การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การจัดการดินและน้ำ การจัดการผลผลิตและการตลาด การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช จัดทำโดย :

พบตามโคก ใกล้จอมปลวก หากระบาดมาก พบได้ทั่วทั้งแปลงที่ดินแห้ง ถ้าเจอในนา กัดบริเวณโคนต้น หรือรากข้าว แสดงว่าน้ำในนาแห้ง วิธีป้องกันกำจัด1. เขตกรรม ไขน้ำเข้านา (กรณีมีน้ำเพียงพอ)2. วิธีกล เก็บทำลาย3. ชีววิธี โรยด้วยเชื้อราเมตาไรเซียม4. สารเคมีชนิดหว่านลงดิน (G,GR) – กลุ่ม 2 ฟิโพรนิล

ขอเชิญร่วมงานวันขยายผลการขับเคลื่อน “โรงเรียนเกษตรกรต้นแบบ ปี 2566” Farmer Field School Day  ”โรงเรียนเกษตรกร” คือ การเรียนรู้ที่พี่ๆเกษตรกรได้ร่วมกันคิด แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร่วมกันแก้ไขปัญหา และตัดสินใจในกระบวนการผลิตได้ด้วยตนเองทุกขั้นตอน  กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย ฐานเรียนรู้ฐานที่ 1 แมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติฐานที่ 2 การขยายชีวภัณฑ์ฐานที่ 3

ปุ๋ยอินทรีย์ หมายถึง ปุ๋ยที่ได้หรือทำมาจากวัสดุอินทรีย์ และถูกย่อยสลายสมบูรณ์ด้วยจุลินทรีย์ ประโยชน์ ประเภทของปุ๋ยอินทรีย์ เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ © ลิขสิทธิ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร • สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์

มะม่วงน้ำดอกไม้พันธุ์สีทอง © ลิขสิทธิ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร • สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์

สับปะรด GI ท่าอุเทน © ลิขสิทธิ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร • สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ภาพจาก

กระท่อม © ลิขสิทธิ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร • สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ภาพจาก : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่

ถั่วพูม่วง © ลิขสิทธิ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร • สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ภาพจาก : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่

พริกจินดาศรีสะเกษ © ลิขสิทธิ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร • สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ภาพจาก : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่สาม