หนอนบุ้ง
หนอนบุ้ง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207
75. ข้าวหัวหงอก จากหนอนกอข้าว
ข้าวหัวหงอก จากหนอนกอข้าว ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207
บั่วปมมะม่วง
บั่วปมมะม่วง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207
ด้วงเต่าลายหยัก
ด้วงเต่าลายหยัก ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207
โรคใบจุดสีน้ำตาล
โรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว บริเวณที่พบ พบมากในนาน้ำฝน และนาชลประทาน ลักษณะอาการแผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอ แผลมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลรูปกลมหรือไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 มม แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาดประมาณ 1-2 x 4-10 มม.บางครั้งพบแผลไม่เป็นวงกลมหรือรูปไข่ แต่จะเป็นรอยเปื้อนคล้ายสนิมกระจัดกระจายทั่วไปบนใบข้าว แผลบนเมล็ดข้าวเปลือก (โรคเมล็ดด่าง) บางแผลมีขนาดเล็ก บางแผลมีขนาดเล็ก บางแผลอาจใหญ่คลุมเมล็ดข้าวเปลือก ทำให้เมล็ดข้าวเปลือกสกปรก เสื่อมคุณภาพ เมื่อนำไปสีข้าวจะหักง่าย การแพร่ระบาดเกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลม และติดไปกับเมล็ด การป้องกัน1.ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ ภาคกลางใช้พันธุ์ปทุมธานี 1 ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พันธุ์เหนียวสันป่าตอง และหางยี 712.ปรับปรุงดินโดยการไถกลบฟาง หรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ดินโดยการปลูกพืชปุ๋ยสด หรือปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค3.คลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซ็บ (mancozeb 80% WP) 3 กรัมต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม4.ใส่ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) 5-10 กิโลกรัม /