ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

พืชสมุนไพรน่ารู้ กับ 3 เอกสารแนะนำ เรื่องราวของสมุนไพร ตั้งแต่การเริ่มปลูกสมุนไพร ควรปลูกอะไร มีสรรพคุณแบบไหน รวมถึงชี้เป้าแหล่งผลิตและจำหน่ายพืชสมุนไพร อ่านครบจบในโพสต์นี้เลย พืชสมุนไพรน่ารู้คลิกอ่าน : https://bit.ly/3UdAg5e สมุนไพรประจำบ้านคลิกอ่าน :https://bit.ly/304d9h2 ชี้เป้า แหล่งผลิตและจำหน่ายพืชสมุนไพรคลิกอ่าน : https://bit.ly/3Y3yEMk

“แนวทางการขับเคลื่อนงานกรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2568” C4 : Collaboration > Connect > Create > Consortium“ทำงานร่วมกัน เชื่อมต่องาน สร้างสรรค์ แบ่งปันข้อมูลและเติบโตไปพร้อมกัน” เป้าหมายสำคัญ ขับเคลื่อนผ่าน >>>

พร้อมเดินหน้าเกษตรมูลค่าสูง สานต่อผลสำเร็จจาก 46 แปลง เพิ่ม 200 แปลง ในปี 68 ทำดี ทำต่อ ทำตาม จากคนสำเร็จ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

นักส่งเสริมการเกษตร ต้องเรียนรู้การจัดการสุขภาพพืช วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ รวมถึงประเมินความเสี่ยงและส่งต่อข้อมูลให้เกษตรกร นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

ยกระดับ 50 ศูนย์ปฏิบัติการ เป็น Academy ใช้เทคโนโลยี และงานวิจัยใหม่ ตอบโจทย์สถานการณ์โลก นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

ต้องเร่งสร้างความตระหนักรู้ ผลักดันให้เกษตรกรทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

การทำตลาด เกษตรกรต้องมองถึงอนาคต การสร้างตลาด คือ สร้างประสบการณ์ให้เกษตรกรพบเจอผู้บริโภค ทำให้รู้ว่าผู้บริโภคต้องการสินค้าแบบใด เรียนรู้และปรับตัวไปด้วยกัน ผู้บริโภคต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับไปถึงกระบวนการผลิตได้ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

นักส่งเสริมการเกษตร เป็นความคาดหวังของเกษตรกร เราจะเป็นโค้ช เพื่อต่อยอดพัฒนาด้านต่าง ๆ ให้เกษตรกรเป็นเกษตรกรชั้นนำ สมความคาดหวังของสังคม นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

Landscape Design การออกแบบพื้นที่เพาะปลูกโดยจัดการที่ดิน น้ำ อย่างเหมาะสม จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

3 แนวคิดหลัก ที่จะปรับโฉมภาคเกษตรไปสู่อนาคต 1. ใช้เทคโนโลยีและวิธีการเกษตรที่ทันโลก เพื่อรับมือกับ Climate Change2. เปลี่ยนใช้เทคโนโลยีอย่างเข้มข้น แทนแรงงาน เพื่อเพิ่มผลผลิต และเข้าถึงตลาด3. ปรับจากปลูกพืชเชิงเดี่ยวไปสู่พืชที่หลากหลาย เพื่อให้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19

แจกฟรี!! แผ่นพับใหม่ปี 2560

แจกฟรี!! แผ่นพับใหม่ปี 2560 การปลูกเมล่อนและแคนตาลูป  อ่านเพิ่มเติมได้ที่  http://bit.ly/2rzSaDl เทคนิคการปลูก ดูแลรักษาไพลและดีปลี อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2r9XCvy เทคนิคที่สำคัญในการผลิตสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2rrK5Oj การปฏิบัติดูแลสวนไม้ผลแบบยกร่องในระหว่างถูกน้ำท่วมขัง อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2r0gv0m การให้น้ำในสวนปาล์มน้ำมัน อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2swiBdl การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง http://bit.ly/2tHqGsN การปลูกพืชร่วม ปลูกพืชแซมและทำกิจกรรมเสริมเพิ่มรายได้ในสวนยาง http://bit.ly/2rPC49g การขอรับเอกสาร 😉 บุคคลทั่วไปสามารถติดต่อขอรับเอกสารได้ที่ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร อาคาร 1 ชั้น 1 กรมส่งเสริมการเกษตร โทร. 02-5790121 ต่อ 541-3 😉 หน่วยงาน สามารถติดต่อขอรับเอกสารได้ที่ ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร อาคาร 2 ชั้น 1 ตึกโรงพิมพ์ กรมส่งเสริมการเกษตร โทร. 02-5795517        

การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว

การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว

การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว   การปลูกมะพร้าวและการควบคุมศัตรูมะพร้าว การปลูกมะพร้าวให้ได้ผลดี ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ คือ เลือกที่ปลูกดี ใช้พันธุ์ดี ปลูกถูกวิธี ดูแลรักษาต้นมะพร้าวให้สมบูรณ์ ปราศจากโรค และศัตรูที่มารบกวนและแก้ไขอุปสรรคที่ทำให้มะพร้าวออกผลน้อย สารบัญ * การปลูกมะพร้าว – การเลือกที่ปลูกมะพร้าว – การเตรียมที่ปลูกมะพร้าว – วิธีปลูก – การใส่ปุ๋ยต้นมะพร้าวที่เริ่มปลูก – การดูแลรักษาสวนมะพร้าวที่ออกผลแล้ว * ศัตรูมะพร้าวและการป้องกันกำจัด – โรคมะพร้าวที่สำคัญ – แมลงศัตรูมะพร้าวที่สำคัญ – สัตว์ฟันแทะศัตรูมะพร้าว * การดูแลสวนมะพร้าวไม่ให้เกิดการระบาดของศัตรูพืช อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2oX4TyT เรียบเรียง : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและ จัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร จัดทำ : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

แผ่นพับการจัดการหลังน้ำลด NEW!!

แผ่นพับการจัดการหลังน้ำลด NEW!!

แผ่นพับการจัดการหลังน้ำลด NEW!! การจัดการหลังน้ำลด 1. การควบคุมศัตรูพืชโดยชีวภาพหลังน้ำลด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2nCuivP 2. การฟื้นฟูไม้ผลหลังน้ำลด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2ovG4JW 3. การฟื้นฟูแปลงและการปลูกผักหลังน้ำลด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2oDzdeo 4. การเพาะผักงอกหลังน้ำลด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2nEk2Rn 5. การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2nz21Dg

แนะนำหนังสือและวารสารห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

แนะนำหนังสือเดือนพฤษภาคม 2560                                   แนะนำวารสารใหม่เดือนเมษายน 2560                                     แนะนำวารสารใหม่เดือนมีนาคม 2560  แนะนำหนังสือใหม่เดือนมีนาคม 2560             แนะนำวารสารใหม่เดือนกุมภาพันธ์ 2560 แนะนำหนังสือใหม่เดือนกุมภาพันธ์ 2560 แนะนำวารสารใหม่เดือนมกราคม 2560 แนะนำหนังสือใหม่เดือนมกราคม 2560

เอกสารแนะนำ ปี 2560

เอกสารแนะนำ ปี 2560

เอกสารคำแนะนำปี 2560                                   เอกสารคำแนะนำปี 2560 ไร่นาสวนผสม อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2niB3Ee การใช้เชื้อจุลินทรีย์ (ชีวภัณฑ์) ในการควบคุมศัตรูพืช  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่  http://bit.ly/2mMbuIB ตำรับอาหารจากต้นอ่อนพืช อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่http://bit.ly/2ncXXMo การปลูกพืชหลังนา อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่http://bit.ly/2nhjgMU เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2oeKSQv