ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เมื่อเกษตรกรทำการเพาะปลูก จำเป็นที่จะต้องเผชิญกับปัญหาศัตรูพืช ทั้งโรค และแมลง การใช้ชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชจึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้เกษตรกร มีผลผลิตที่มีคุณภาพ และช่วยลดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตรได้อีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้1. เชื้อราเมตาไรเซียม แอนนิโซพลิอีคลิกอ่าน : https://bit.ly/3RZOh5k 2. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ (ชีวภัณฑ์) ในการควบคุมศัตรูพืชคลิกอ่าน : https://bit.ly/3kkeiKL 3. มาตรฐานชีวภัณฑ์ (ผลิตภัณฑ์ชีววิธี)

การควบคุมภายใน (Internal Control) เครื่องมือสำคัญในการกำกับดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ความหมายของการควบคุมภายใน การควบคุมภายใน (Internal Control) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล หัวหน้าหน่วยงาน ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยงานจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ ด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงานและด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ แนวคิดของการควบคุมภายใน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. ที่มา : วารสารส่งเสริมการเกษตรปีที่

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 316 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEการควบคุมภายใน (Internal Control) เครื่องมือสำคัญในการกำกับดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ หน้า 4 เกษตรต่างแดนคงคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยเพิ่มศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดส่งออกสาธารณรัฐประชาชนจีน

เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper) วงจรชีวิต ลักษณะการทำลาย แนวทางการป้องกันกำจัด เขตกรรม วิธีกล ชีววิธี สารเคมี การใช้สารเคมี เช่น สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดกลุ่มเพลี้ยจักจั่น ได้แก่ การใช้สารเคมีกำจัดแมลงเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาของเพลี้ยจักจั่น ควรพ่นสารเคมีที่มีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างกันสลับกันตามวงจรชีวิตของแมลง สำหรับเพลี้ยจักจั่นมีวงจรชีวิตประมาณ 1 เดือน ดังนั้น ควรใช้สารที่มีกลไกเดียวกันไม่เกิน 1

คำแนะนำการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ เฝ้าระวังการระบาดของหนอนกระทู้ เนื่องจากช่วงนี้พบการระบาดของหนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายมันสำปะหลังในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบหนอนกระทู้กล้าเข้าทำลายในข้าว และหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเข้าทำลายข้าวโพด ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้งเป็นเวลานาน และเริ่มมีฝนตกในหลายพื้นที่ ทำให้ดักแด้ที่พักตัวอยู่ในดินพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย (ผีเสื้อกลางคืน) และวางไข่ สภาพอากาศเช่นนี้ทำให้วงจรชีวิตหนอนสั้นลง ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและเข้าทำลายหลายชนิดพืช รูปร่างลักษณะ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด : fall armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E.

เปิดรับสมัคร อบรมการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ปี 67 (รุ่น 2) ขอเชิญชวนเกษตรกร ผู้นำเกษตรกร (อกม./YSF/SF) เจ้าหน้าที่ และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ในปัจจุบันการเพาะเห็ดฟางได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะได้ผลตอบแทนเร็ว เพียงระยะ 9-11 วัน ก็เริ่มเก็บผลผลิตได้ต้นทุนการผลิตต่ำ สามารถเพาะได้ทุกพื้นที่รูปแบบมีหลายรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนการทำ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร “หมอพืชชุมชน” ตั้งแต่บัดนี้ – 19 กรกฎาคม 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-611044

ใบบัวบก

ใบบัวบก บัวบกมีสารสำคัญกรดมาเดคาสสิก (Madecassic acid) กรดเอเชียติก (Asiatic acid) การปลูกปลูกได้ดีในดินเหนียวหรือดินเหนียวปนดินร่วน ใบบัวบกจะขยายพันธุ์โดยไหลและเมล็ด วิธีขยายจากไหลตัดไหลเป็นท่อน ๆ ไปเพาะในกระบะเพาะ 1-2 สัปดาห์ การดูแลรักษาบัวบกต้องการความชื้น แต่ไม่แฉะควรให้น้ำสม่ำเสมอ ควรระวังอย่าให้น้ำขัง จะเกิดโรคโคนเน่า การเก็บเกี่ยวเริ่มเก็บเกี่ยวหลังจากปลูกได้ประมาณ 60-90 วัน ใช้มีดตัดเหนือจากพื้นดินประมาณ

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร   สำนักงานเลขานุการกรม

แบบฟอร์มลงทะเบียนการรับสื่อเอกสารและสื่อโสตทัศนวัสดุ   ปีงบประมาณ   2561
วันที่………………………………………..
เรียน ผู้อำนวยการศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
ข้าพเจ้า……………………………………………………………………………..   ตำแหน่ง…………………………………………………………………………………..
หน่วยงาน……………………………………………………………………………….โทรศัพท์……………………………………………..
อีเมล์( E-mail )…………………………………………………………………. ได้รับสื่อเอกสารและสื่อโสตทัศนวัสดุดังรายการต่อไปนี้

 

[one_third padding=”0 20px 20px 20px”]

รายชื่อแผ่นพับที่ให้บริการ

แบบฟอร์มลงทะเบียนการรับสื่อเอกสารและสื่อโสตทัศนวัสดุ

 

  1. ข้าวกอดมัจฉา (ใหม่!!)
  2. การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง (ใหม่!!)
  3. การปลูกพืชร่วม ปลูกพืชแซม และทำกิจกรรมเสริมเพิ่มรายได้ในสวนยาง (ใหม่!!)
  4. การให้น้ำในสวนปาล์มน้ำมัน (ใหม่!!)
  5. การปฏิบัติดูแลสวนไม้ผลแบบยกร่องในระหว่างถูกน้ำท่วมขัง (ใหม่!!)
  6. การใช้ปุ๋ยผสมผสาน เพื่อลดต้นทุนการผลิตและการเกษตรกรรมที่ยั่งยืน (ใหม่!!)
  7. เทคนิคที่สำคัญในการผลิตสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ (ใหม่!!)
  8. การปลูกเมล่อนและแคนตาลูป (ใหม่!!)
  9. การปลูกเผือก (ใหม่!!)
  10. การจัดการโรคใบขาวอ้อย โดยชุมชนมีส่วนร่วม
  11. การควบคุมแมลงวันผลไม้โดยวิธีผสมผสาน
  12. การผลิตเงาะนอกฤดู
  13. การผลิตลองกองนอกฤดู
  14. การผลิตทุเรียนนอกฤดู
  15. การผลิตมังคุดนอกฤดู
  16. การฟื้นฟูไม้ผลหลังน้ำลด
  17. การฟิ้นฟูแปลงและการปลูกผักหลังน้ำลด
  18. การเพาะผักงอกหลังน้ำลด
  19. หยุดเผาในพื้นที่การเกษตร
  20. การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผึ้ง
  21. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
  22. การปลูกพืชไร่หลังนา
  23. จิ้งหรีด..แมลงเศรษฐกิจ
  24. การขยายพันธุ์พืช
  25. มันแกว
  26. ลดต้นทุนการผลิตข้าว
  27. เผือกหอม
  28. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
  29. ถั่วลันเตา
  30. ข้าวโพดหวาน
  31. ไผ่บงหวาน
  32. สูตรอาหาร คานาเป้ ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน ปอเปี๊ยะญวน ข้าวผัด 5 สี
  33. ถั่วลิสง
  34. กะหล่ำดอก
  35. การฟื้นฟูดอกไม้ประดับหลังประสบอุทกภัย
[/one_third] [one_third padding=”0 20px 20px 20px”]

รายชื่อเอกสารที่ให้บริการ

แบบฟอร์มลงทะเบียนการรับสื่อเอกสารและสื่อโสตทัศนวัสดุ

 

  1. อาหารจากธัญพืช (ใหม่!!)
  2. ระบบการให้น้ำพืช (ใหม่!!)
  3. การปลูกผักสำหรับคนเมือง (ใหม่!!)
  4. การวินิจฉัยศัตรูพืช (ยางพารา) (ใหม่!!)
  5. เศรษฐกิจพอเพียงกับภาคการเกษตร (ใหม่!!)
  6. ตำรับอาหารจากต้นอ่อนพืช
  7. การปลูกพืชหลังนา
  8. เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ
  9. การจัดการดินและปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
  10. การเพาะผักงอก
  11. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  12. ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
  13. การปลูกพืชใช้น้ำน้อย
  14. การถนอมอาหารจากผัก ผลไม้
  15. แก้วมังกร
  16. ผลิตภัณฑ์ลำไย
  17. มะเขือม่วง
  18. มะม่วง
  19. ผักไฮโดรโปนิกส์
  20. อาหารจากพุทรา
  21. ศัพท์ส่งเสริมการเกษตร
  22. อาหารจากเดือย
[/one_third] [one_third padding=”0 20px 20px 20px”]

รายชื่อสื่อวิดิทัศน์ที่ให้บริการ

แบบฟอร์มลงทะเบียนการรับสื่อเอกสารและสื่อโสตทัศนวัสดุ

  1. การเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อการค้า (ใหม่!!)
  2. ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนกับงานอารักขาพืช (ใหม่!!)
  3. กระบวนการจัดตั้งกลุ่ม 3 ก. และการจัดตั้งกองทุนเพื่อการเกษตร (ใหม่!!)
  4. การปลูกมะพร้าวน้ำหอม
  5. ระบบการจัดการคุณภาพข้าว/พืชผัก/ไม้ผล(GAP ข้าว/พืชผัก/ไม้ผล)
  6. แหล่งเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 1-6
  7. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ปี 2551 – 2553
  8. 52 สัปดาห์ รู้แล้วรวย ด้วยนวัตกรรมงานวิจัยเกษตรไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  9. ศูนย์ข้าวชุมชน (การจัดตั้งศูนย์ฯ การคัดเลือกพื้นที่ การจัดเวทีชุมชน) โดย กรมการข้าว
  10. ลดต้นทุนการผลิตข้าว (1. ลดการใช้เมล็ดพันธุ์ 2. ลดการใช้ปุ๋ยเคมี) โดย กรมการข้าว
  11. ยางพารา (การกรีดยาง, การใส่ปุ๋ยในสวนยางพารา)
  12. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
  13. ปาล์มน้ำมัน โดย กรมวิชาการเกษตร
  14. การผลิตมะนาวนอกฤดู
  15. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดย กรมวิชาการเกษตร
  16. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ “การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า..ในการปลูกพืชชนิดต่างๆ”
  17. การปลูกผักในเมือง
  18. การลดต้นทุนการผลิตข้าว
  19. การจัดการระบบน้ำหยดในมันสำปะหลัง
  20. เกษตรกรรมยั่งยืน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
  21. แนะนำกรมส่งเสริมการเกษตร
  22. สารคดี ความรู้ทางการเกษตรทางวิทยุ รายการสาระเกษตรกับกรมส่งเสริมการเกษตร
  23. รายการโทรทัศน์เกษตรมิติใหม่
  24. เกษตรปลอดการเผา
  25. การทำเกษตรผสมผสานอย่างยั่งยืน
  26. การใช้น้ำอย่างรู้คุณค่าในข้าว พืชผัก พืชไร่ สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ
  27. การผลิตผักไร้ดินอย่างง่ายในครัวเรือน
  28. เกษตรมิติใหม่ e-Clip ความรู้ทางการเกษตร
[/one_third]

 

 

 

 

 

 

ลงชื่อ……………………………………………ผู้รับสื่อโสตฯ                  ลงชื่อ………………………………… ผู้ให้สื่อโสตฯ
   (…………………………………………………….)                                 (…………………………………………………….)