ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

แล้งนี้ต้องรอด! #DOAE แนะนำวิธีการรับมือ ระหว่าง – หลัง การเกิดภัยแล้ง ที่เกษตรกรชาวสวนควรรู้ ตั้งแต่ผลกระทบของภัยแล้ง จนถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาเมื่อเผชิญเหตุ เกษตรกรต้องทำอย่างไร? รับมือด้วยวิธีการไหน? สวนไม้ผลถึงอยู่รอดปลอดภัย คลิกอ่านได้ในโพสต์นี้เลย

เตือนเกษตรกร! เฝ้าระวังพายุฤดูร้อน หวั่นส่งผลกกระทบ ระหว่างวันที่ 7-10 พฤษภาคม 2567 แจ้งเตือนเกษตรกรภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เฝ้าระวังภัยจากพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและลูกเห็บตกบางแห่ง รวมถึงอาจมีฟ้าผ่าเกิดขึ้นได้บางพื้นที่

6 คำแนะนำสำหรับเกษตรกรชาวสวนไม้ผล เผชิญเหตุปัญหาภัยแล้งและความร้อน เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

คู่มือมังคุด จังหวัดชุมพร “ราชินีผลไม้” คือฉายาของมังคุด เนื่องจากกลีบเลี้ยงที่ติดอยู่ที่ขั้วผลคล้ายมงกุฎของราชินี มีเนื้อผลสีขาวและรสชาติอร่อย เป็นที่นิยมของผู้บริโภค จังหวัดชุมพร มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมในการปลูกมังคุด จึงทำให้เกษตรกรนิยมปลูกมังคุดอย่างแพร่หลาย สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรเป็นจำนวนมาก จนนับเป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดชุมพร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร

เกลือทะเลจันท์

เกลือทะเลจันท์ Sea Salt Chan เสน่ห์เกลือจันท์ นาเกลือทะเลท่าใหม่หนึ่งเดียวในจังหวัดจันทบุรี มีกระบวนการผลิตที่ใส่ใจทุกขั้นตอน ได้รับรองมาตรฐาน GAP “เกลือน้อยแดด รสชาติกลมกล่อม” ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี

เอกสารคำแนะนำ 4/2567 การให้น้ำแก่พืชอย่างรู้คุณค่าและมีประสิทธิภาพ ปลูกพืชให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เตรียมการสำรองน้ำไว้ใช้ เพื่อสร้างรายได้ในช่วงฤดูแล้ง สารบัญ เรียบเรียง : ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านพืช ระดับส่วนกลางกลุ่มเกษตรชลประทาน กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เอกสารคำแนะนำ 3/2567 การปลูกพืชตามสถานการณ์ในช่วงฤดูแล้ง “ไม้ดอกไม้ประดับ” ปลูกพืชให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เตรียมการสำรองน้ำไว้ใช้ เพื่อสร้างรายได้ในช่วงฤดูแล้ง สารบัญ เรียบเรียง : ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านพืช ระดับส่วนกลาง จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เอกสารคำแนะนำ 2/2567 การปลูกพืชตามสถานการณ์ในช่วงฤดูแล้ง “พืชไร่” ปลูกพืชให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เตรียมการสำรองน้ำไว้ใช้ เพื่อสร้างรายได้ในช่วงฤดูแล้ง สารบัญ เรียบเรียง : ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านพืช ระดับส่วนกลาง จัดทำโดย : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

6 ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกร ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทางเลือกที่ 1 ปรับเปลี่ยนเทคนิคหรือวิถีการผลิต ทางเลือกที่ 2 ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน้ำและระบบส่งจ่ายน้ำ ทางเลือกที่ 3 บริหารจัดการที่ดินอย่างเหมาะสม ทางเลือกที่ 4 ปรับปรุงและอนุรักษ์ดิน ทางเลือกที่ 5 อนุรักษ์ป่าไม้และสภาพแวดล้อม ทางเลือกที่ 6 ประกันภัยพืชผล ดาวน์โหลดไฟล์

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “แมงกานีส-Mn” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดแมงกานีสและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุแมงกานีส เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “สังกะสี-Zn” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดสังกะสีและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุสังกะสี เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “โบรอน-B” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดโบรอนและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุโบรอน เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “ฟอสฟอรัส-P” อาการต้นข้าวขาดฟอสฟอรัส เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

โรงเรียนเกษตรกร ปัจจัยความสำเร็จ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์

หลักการ IPM การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช