ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น YOUNG SMART FARMER ปี 2568 สำนักงานเกษตรอำเภอตะพานหิน ประชาสัมพันธ์การรับสมัครบุคคลที่มีอายุระหว่าง 17-45 ปี ประกอบอาชีพทางการเกษตรเข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer ประจำปี 2568 ตั้งแต่วันนี้ ถึง 30 พฤศจิกายน 2567 ได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอตะพานหิน

สาเหตุอาการผิดปกติของพืช สิ่งมีชีวิต ข้อสังเกต : เกิดแบบสุ่ม/กระจายตัว มีการระบาดไปสู่ต้นอื่น พบแมลง ร่องรอย มูล กลิ่น สิ่งไม่มีชีวิต ข้อสังเกต : มักเกิดบริเวณเดียว/มีขอบเขต ไม่มีการระบาดไปสู่ต้นอื่น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

รู้หรือไม่ ? ธาตุไนโตรเจนสำหรับพืช ไม่ได้มาจากปุ๋ยเคมีเท่านั้นชวนอ่านเรื่อง “แหนแดง” พืชมหัศจรรย์ที่ให้ธาตุไนโตรเจนสูงกว่าพืชตระกูลถั่ว มาทำความรู้จักให้มากขึ้น เพื่อนำไปต่อยอดเลี้ยงแหนแดงไว้ใช้ประโยชน์กันค่ะ แหนแดง พืชมหัศจรรย์ ทดแทนปุ๋ยไนโตรเจนคลิกอ่าน : https://bit.ly/3L7AeGQ แหนแดงโรงงานปุ๋ยตัวน้อยคลิกอ่าน : https://bit.ly/3T51haH วิธีการเลี้ยงแหนแดงคลิกอ่าน : https://bit.ly/3XUIGRg

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำนิตยสาร เดือนกันยายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร “แนะนำหนังสือใหม่ เดือนกันยายน 2567“ เกษตรกรรมในสยาม บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของราชอาณาจักรสยามงานอย่างไร (ต่อต้าน) คอร์รัปชัน 101 ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม กล้วยไม้ ORCHIDS Farm House สวนเกษตรในบ้าน สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

วันที่ 26 กันยายน 2567 สโมสรโรตารีแก่นจันทน์ จังหวัดราชบุรี ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 84 เล่ม/แผ่น สำหรับมอบหนังสือให้กับห้องสมุดเฉลิมราชกุมารี อ.เมืองจังหวัดราชบุรี เนื่องในเดือนเเห่งการศึกษาขั้นพื้นฐานเเละการรู้หนังสือ (Basic Education and Literacy Month)

หลังจากเกษตรกรประสบปัญหาน้ำท่วมอย่างหนักหน่วง เมื่อถึงคราวน้ำลดอาจเกิดปัญหาเรื่องดินตามมา วันนี้กรมส่งเสริมการเกษตร ขอนำเสนอวิธีการจัดการดินหลังน้ำท่วม เพื่อให้เกษตรกรสามารถนำข้อมูลไปปรับใช้ในการฟื้นฟูสภาพดิน ดูแลสวนไม้ผล และแปลงผักได้อย่างถูกวิธี คลิกอ่านด้านล่างเลย

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (ฺBrown Planthopper) ลักษณะการทำลายระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะออกรวง ตั้งแต่ตัวอ่อนจนถึงตัวเต็มวัย สามารถทำลายต้นข้าวได้อย่างรุนแรง โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงจากต้นข้าว ทำให้ต้นข้าวมีอาการใบเหลือง เหี่ยวแล้ว แห้งเป็นสีน้ำตาลแก่คล้ายน้ำร้อนลวกที่เรียกว่า hopper burn ต้นกล้า และต้นข้าวที่กำลังแตกกอที่ถูกทำลายจะแห้งตาย ต้นข้าวที่ออกรวงแล้วจะมีเมล็ดไม่สมบูรณ์ และมีน้ำหนักเบา ล้มง่าย เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลพบมากในพันธุ์ข้าวที่ต้นเตี้ยและแตกกอมาก เนื่องจากมีจำนวนต้นข้าวให้แมลงดูดกินมาก และจะระบาดรุนแรงในระหว่างเดือนที่มีอากาศร้อน

โรคใบจุดและเน่าเละ สาเหตุจากเชื้อรา : Cercospora lactucae-sativae ลักษณะการทำลายทำลายผลผลิตผักสลัดทุกระยะการเจริญเติบโต โดยเฉพาะผักที่มีใบกว้าง เช่น กรีนคอส บัตเตอร์เฮด โดยเริ่มแรกแผลมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำ สีน้ำตาลอ่อน ต่อมาแผลขยายใหญ่มีลักษณะกลมหรือค่อนข้างกลม เรียงซ้อนกันเป็นชั้น กลางแผลมีสีเทาหรือสีขาว ขอบแผลมีสีน้ำตาล ลักษณะคล้ายตากบ แผลมีหลายขนาดตั้งแต่จุดเล็กถึงจุดใหญ่ ขนาด 1-10 มิลลิเมตร เกิดกระจายทั่วใบ

การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร มีขั้นตอน ระยะเวลา และส่วนงานที่รับผิดชอบ ดังนี้ รวมระยะเวลา 40 วันทำการสามารถดาวน์โหลดคู่มือประชาชน:

จุลินทรีย์ขุยไผ่ ดินขุยไผ่ เป็นดินที่นิยมนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรกันอย่างแพร่หลาย เพราะดินขุยไผ่มีลักษณะร่วน มีอินทรีย์วัตถุสูง มีจุลินทรีย์และเชื้อราต่าง ๆ ในดิน

การฟื้นฟูมะพร้าวหลังน้ำลด ถูกน้ำท่วม 7-14 วัน ไม่เกิดความเสียหาย รอดินแห้ง ดูแลตามปกติ อาการหลังน้ำลด

อาการผิดปกติของพืชเกิดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อราสาเหตุและส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ถูกเข้าทำลาย ผลเกิดจุดแผล ยุบตัว เน่า อาจพบส่วนของเชื้อรา (สปอร์/เส้นใย)

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษาข้าวในช่วงฤดูฝน โรคข้าวที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน : โรคจากเชื้อรากลุ่มโรคจากเชื้อราพบได้บ่อยในช่วงฤดูฝน อาทิเช่น โรคไหม้ โรคถอดฝักดาบ

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษาพืชผักในช่วงฤดูฝน แนวทางดูแลรักษาพืชผักในช่วงฤดูฝน 1. หมั่นตรวจดูแปลงพืชผักสม่ำเสมอ2. ระบายน้ำในแปลงให้ไหลสะดวกไม่ท่วมขัง3. ใช้วัสดุคลุมแปลง เพื่อป้องกันหน้าดินและรากพืช4.