ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

หนอนปลอกเล็ก

หนอนปลอกเล็ก หนอนปลอกเล็กจะแทะผิวใบ ทำให้ใบแห้งเป็นสีน้ำตาล และกัดทะลุใบเป็นรูขาดแหว่ง ถ้าเข้าทำลายรุนแรงจะเห็นทางใบทั้งต้น เเป็นสีน้ำตาลแห้ง ต้นชะงักการเจริญเติบโตผลผลิตลดลง หรือไม่ได้ผลผลิต ตัวเต็มวัยหนอนปลอกเล็กเป็นผีเสื้อกลางคืน ระยะหนอนเป็นระยะที่ทำให้เกิดความเสียหาย โดยหนอนจะเริ่มแทะผิวใบมะพร้าว หรือใบปาล์มน้ำมัน ผสมกับใยที่ขับออกมาจากปปากนำมาสร้างปลอกห่อหุ้มตัวเอง ปลอกมีช่องเปิด 2 ทาง ช่องเปิดด้านบนสำหรับโผล่หัวออกมาแทะกินใบพืช ส่วนด้านล่างสำหรับเป็นช่องขับถ่าย ระยะหนอนใช้เวลาประมาณ 92-124 วัน การแพร่กระจายโดยลม

เพลี้ยอ่อนถั่วฝักยาว ส่วนที่ถูกเพลี้ยอ่อนทำลาย ใบอ่อนหงิกงอ ดอกร่วง ไม่ติดฝัก และหากฝักอ่อนถูกดูดกินน้ำเลี้ยงจะทำให้ฝักมีขนาดเล็กลง หากการทำลายรุนแรงจะทำให้หยุดการเจริญเติบโตและตายในที่สุด เพลี้ยอ่อนยังปล่อยของเหลว ซึ่งเป็นน้ำตาลที่เหลือใช้ผสมกับของเสียออกมาทางช่องขับถ่าย เรียกว่า “มูลน้ำหวาน” ซึ่งเป็นอาหารของราดำ ทำให้ราดำเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จนปกคลุมใบและฝักผลผลิตจึงไม่เป็นที่ต้องการของตลาด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน แมลงศัตรูที่สำคัญของทุเรียน เนื่องจากทุเรียนอยู่ในระยะของการพัฒนาผล การเข้าทำลายของหนอนเจาะเมล็ด ส่งผลเสียต่อผลผลิตทุเรียน ทำให้เนื้อทุเรียนเสียคุณภาพ เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบ การระบาดให้ดำเนินการหาแนวทางควบคุมและป้องกันกำจัด ก่อนเกิดการระบาดรุนแรง หรือสามารถขอคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอหรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้าน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี

ด้วงงวงมะพร้าว

ด้วงงวงมะพร้าว ด้วงงวงมะพร้าวมี 2 ชนิด ได้แก่ ด้วงงวงมะพร้าวชนิดเล็ก และด้วงงวงมะพร้าวชนิดใหญ่ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงปีกแข็ง ขนาดเล็กกว่าด้วงแรด ลำตัวสีน้ำตาลแดง ส่วนหัวมีงวงยื่นออกมา เพศเมียจะมีงวงยาวกว่าเพศผู้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี

วันที่ 12 มีนาคม 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 350 เล่ม/แผ่น สำหรับเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

วันที่ 11 มี.ค. 2567

วันที่ 11 มีนาคม 2567 คุณประทุม เรืองสวัสดิ์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 10 เล่ม/แผ่น  สำหรับศึกษาการเพาะปลูกใช้ในพื้นที่การเกษตรของตนเอง

3 ศัตรูมะม่วง เฝ้าระวังในระยะออกดอก เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยไฟพริก ไรแดงมะม่วง เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

วินิจฉัยอาการผิดปกติจาก…ไส้เดือนฝอย อาการที่พบกับส่วนของพืชที่อยู่เหนือดิน อาการที่พบกับส่วนของพืชที่อยู่ใต้ดิน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

โรคใบด่างมันสำปะหลัง โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

หนาวแล้ว!! เตือนผู้ปลูกมะม่วง ในระยะแทงช่อดอก – พัฒนาผล รับมือ โรคจุดดำ หรือ

ศัตรูพืชที่ติดไปกับท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง “โรคใบด่างมันสำปะหลัง” เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ของขวัญแทนใจ รังสรรค์ที่พักสวย ด้วยไม้กระถาง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

ด้วงเต่า ตัวห้ำ ด้วงเต่าตัวห้ำเป็นแมลงห้ำทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถควบคุมศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย

ข้อสังเกต ลักษณะชนิดของตั๊กแตน ตั๊กแตนปาทังก้า ตั๊กแตนข้าวโพดคอลายหรือตั๊กแตนไฮโรไกลฟัส ตั๊กแตนลายหรือตั๊กแตนปาทังก้าเทียม ตั๊กแตนโลคัสตาหรือตั๊กแตนปาทังก้าเขียว ตั๊กแตนคอนดราคริส ดาวน์โหลดไฟล์