ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เมื่อภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง เดี๋ยวร้อน เดี๋ยวแล้ง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลแบบนี้ เกษตรกรไทยต้องรับมือและปรับเปลี่ยนอย่างไรดี วันนี้ DOAE หาคำตอบมาให้แล้วค่ะ

การจัดการแปลงมะละกอ

5 ข้อสำคัญในการดูแลและจัดการแปลงมะละกอ การจัดการแปลงมะละกอที่ดี จะทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาด เรียบเรียงโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี

ขอเชิญร่วมงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่(Field Day) ปี 2567วันพฤหัสบดี ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2567ณ ศพก.เครือข่ายนายประเสริฐ แสงศรีจันทร์ & อาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวน้ำตกอ่างทอง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอสิเกา ตรัง

โรคใบร่วงชนิดใหม่ในยางพารา ภาพจาก : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก ที่มา : https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=pfbid0eqf8pfPKqY78BqngvCxjDXsvFK5vbmkYa1aXUjXbDKErYUP23wHduNK328v2Xp4Wl&id=100007822839207 โรคใบร่วงยางพารา เกิดจากเชื้อรา Phytophthora botryosa Chee หรือ P. palmivora (Butler) หากเกิดโรคจะมีลักษณะ ใบแก่ เกิดจุดแผลฉ่ำน้ำ ขนาดไม่แน่นอน บริเวณก้านใบมีรอยช้ำ จุดกึ่งกลางของรอยแผลช้ำ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน รายการ The Capture ของช่องสื่อออนไลน์ THE FARMER ในประเด็น การใช้นวัตกรรมการเกษตรเพื่อสร้างโอกาสให้เกษตรกรไทยเติบโต ณ ศูนย์บริการร่วม กรมส่งเสริมการเกษตร

แนะนำนิตยสาร เดือนมกราคม 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : https://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

เชื้อราบิวเวอเรีย เชื้อราทำลายแมลงศัตรูพืช เชื้อราบิวเวอเรีย สามารถทำลายศัตรูชนิดใด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ข้อมูลเพิ่มเติม : การใช้เชื้อจุลินทรีย์ (ชีวภัณฑ์) ในการควบคุมศัตรูพืช

สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูข้าว▪ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก เพลี้ยจักจั่นสีเขียว▪ เพลี้ยไฟ▪ หนอนห่อใบข้าว หนอนกอข้าว▪

สารเคมีป้องกันกำจัดโรคข้าว▪ โรคใบไหม้ โรคไหม้คอรวง โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง▪ โรคใบจุดสีน้ำตาล▪ โรคขอบใบแห้ง▪ โรคใบขีดโปร่งแสง

อ้อย (SUGAR CANE) ท่อนพันธุ์ “อ้อย” ที่ดี จัดทำโดย :

แมลงศัตรูผักและการป้องกันกำจัด จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท https://www.facebook.com/DoaeChainat

เกษตรกร…ต้องรู้ กลไกการเข้าทำลายสารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืช จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207