ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ประชาสัมพันธ์ โครงการคนภูเก็ตปลูกพืชอาหารปลอดภัยจากสารพิษ รับสมัคร เกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมการอบรม โดยมีการบรรยายและสาธิต การปลุกพืชในภาชนะ และในแปลง การดูแลลรักษา การขยายพันธุ์ และการใช้ประโยชน์พืชผัก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

หนอนกออ้อย

เตือนเฝ้าระวัง ! หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) เนื่องจากสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในช่วงนี้มีอุณหภูมิสูง และฝนทิ้งช่วง เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย โดยเฉพาะในระยะแตกกอ และย่างปล้อง เฝ้าระวังการระบาดของ หนอนกออ้อย โดยหมั่นสำรวจแปลงอ้อยอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบการเข้าทำลายของหนอนกออ้อยให้รีบแจ้งสำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้าน เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันกำจัดทันที สาเหตุ หนอนกอที่เข้าทำลายอ้อยในระยะแตกกอมี 3 ชนิด ได้แก่ ลักษณะอาการ

เฝ้าระวังร้อน แล้ง แมลงศัตรูพืชตัวร้าย เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน หนอนกออ้อย หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง สาเหตุ : เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกัน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท กรมส่งเสริมการเกษตร

รับมืออย่างไร..เมื่อ “น้ำเค็มรุก” เข้าสวน ผลกระทบน้ำเค็มที่มีต่อพืช ระยะกำลังเริ่มสร้างช่อดอกหรือผสมเกสร ระยะติดผล ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี

แนะนำนิตยสารใหม่ เดือนเมษายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

แนะนำหนังสือใหม่ เดือนเมษายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

แมลงศัตรูมะพร้าว “แมลงดำหนามมะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลายตัวหนอนและตัวเต็มวัยกัดกินยอดอ่อน และจะซ่อนตัวอยู่ในใบอ่อนที่พับอยู่ โดยจะเคลื่อนย้ายไปกินยอดอื่นต่อ เมื่อใบของมะพร้าวที่ซ่อนตัวคลี่ออกมา ต้นมะพร้าวที่ถูกทำลายอย่างรุนแรง ใบจะเป็นสีขาวโพลนชัดเจน

แมลงศัตรูมะพร้าว “ไรสี่ขามะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลายเข้าทำลายใต้กลีบขั้วผล และใต้กลีบเลี้ยง ทำให้เกิดรอยแผลที่ขั้วผลและลุกลามลงมาที่ผลทำให้แผลตกสะเก็ด เมื่อผลโตขึ้นจะเห็นแผลเป็นร่องลึก เมื่อแกะขั้วผลออกจะเห็นด้านในเป็นสีน้ำตาล หากนำไปส่องดูใต้กล้องจุลทรรศน์จะเห็นไรสี่ขามะพร้าวตัวเล็ก

จุลินทรีย์หน่อกล้วย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ปุ๋ยเคมีแท้ ปุ๋ยเคมีปลอม…รู้ได้อย่างไร? ปุ๋ยเคมีแท้ ปุ๋ยเคมีปลอม/ปน จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

“การทำถ่านผลไม้” สถาพร ตะวันขึ้น (พี่หมึก) ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สร้างงานเผาถ่านเป็นอาชีพ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้สร้างงานเผาถ่านเป็นอาชีพ

4 ขั้นตอน การผสมสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้ถูกวิธี จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก ดาวน์โหลดไฟล์