ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เพลี้ยไฟในข้าวโพดหวานและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ภาพจาก : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=pfbid0rNFmQ8CrJPWdGZGGoX6Y4JAcu2arA3mnQxBPpxdkvGf3foH6JQkhMU9H2ztVZ4JSl&id=100013463325204

โรคใบจุดขอบใบไหม้ในทุเรียน เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อรา Phomopsis sp. โดยเชื้อจะเข้าทำลายที่ปลายใบและขอบใบไม้ จุดที่เกิดโรคจะมีเนื้อใบไม้ที่แห้งเป็นสีน้ำตาลแดงก่อนและต่อมาเปลี่ยนเป็นสี ขาวอมเทา และเมื่อเชื้อเจริญเติบโตจะทำความเสียหายกับใบทุเรียน โรคใบไหม้ แพร่ระบาดไปโดย ลม ฝน และ เนื้อเยื่อใบที่แห้ง สาเหตุโรค อาการโรคใบจุด ขอบใบไหม้ ส่วนมากเชื้อจะเข้าทำลายที่บริเวณปลายใบไม้และขอบใบไม้ก่อน เกิดอาการปลายใบแห้ง และ ขอบใบแห้ง ที่จุดเชื้อสาเหตุเข้าทำลาย

โรคในแปลงกล้วยตานี ใบล่างของกล้วยมีอาการจุดสีดำประปราย และเริ่มลุกลามทำให้ใบเหลืองแห้ง แต่ยังไม่พบยืนต้นตาย เมื่อตัดลำต้นกล้วยไม่พบแผลหรือรอยช้ำ ไม่พบรอยเจาะของด้วงงวงเจาะลำต้นกล้วย จึงสันนิษฐานว่ากล้วยเป็นโรคใบจุด แนะนำให้หมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบใบกล้วยมีอาการของโรคให้รีบตัดใบที่เป็นโรคนำออกไปทำลายนอกแปลงปลูก และตัดแต่งใบกล้วยในแต่ละต้นหรือแต่ละกอ ไม่ให้แน่นเกินไป เพื่อลดความชื้นในกอกล้วยที่จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือสะสมของเชื้อรา จากนั้นให้พ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช ไดฟีโนโคนาโซล 25% อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ

 ขอเชิญร่วมส่งประกวดผลผลิตทางการเกษตร  งานวันส้มโอและของดีเมืองลาดยาว ประจำปี 2566วันที่ 1 กันยายน 2566 ณ บริเวณหน้าที่ว่าการอำเภอลาดยาว

ด้วงแรดมะพร้าว

ด้วงแรดมะพร้าว ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 44/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทราhttps://www.facebook.com/8rewplantprotection?mibextid=ZbWKwL

โรคพุ่มแจ้ในมันสำปะหลัง ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 43/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทราhttps://www.facebook.com/8rewplantprotection?mibextid=ZbWKwL

โรคใบด่างมันสำปะหลัง ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 42/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทราhttps://www.facebook.com/8rewplantprotection?mibextid=ZbWKwL

โรคไหม้ข้าวหรือไหม้คอรวง ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 41/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทราhttps://www.facebook.com/8rewplantprotection?mibextid=ZbWKwL

เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

เชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา

กล้วยน้ำว้าปากพนัง จัดทำโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช

ไส้เดือนฝอยเข้าทำลายแมลงอย่างไร?? จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี

เชื้อราเมตาไรเซี่ยม จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี