ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

Young Smart Farmer ปี 2567

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer ปี 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : Young Smart Farmer Thailand https://www.facebook.com/Youngsmartfarmerthailand

วันที่ 3 ตุลาคม 2566 น.ส.พิไลลักษณ์ พิชัยวัตต์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการฯ เครือเจริญโภคัณฑ์ ขอรับบริการสื่อเอกสารคำแนะนำ จำนวน 280 เล่ม/แผ่น สำหรับให้ผู้นำชุมชนเพื่อการเรียนรู้

คู่มือการผลิตขยายเชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 3 จังหวัดระยอง กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/p/Chonburi-Plant-Protection-100066508688430/ ดาวน์โหลดไฟล์PDF.

โรคและแมลงในไม้เถาและการควบคุม สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430

ความรู้โรคข้าวที่เกิดจาก “เชื้อรา” โรคไหม้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดเชียงใหม่https://www.facebook.com/biochiangmai/?locale=th_TH

แมลงศัตรูข้าว เพลี้ยกระโดดหลังขาว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดเชียงใหม่ https://www.facebook.com/biochiangmai/?locale=th_TH

โรคใบติดหรือใบไหม้ สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solaniอาการของโรคมักพบที่ใบอ่อนก่อน เกิดแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ บริเวณกลางใบหรือขอบใบ ต่อมาแผลจะค่อยๆ ขยายตัวลุกลามแผลเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ขนาดและรูปร่างแผลไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม เชื้อราจะเจริญลุกลามไปยังใบอื่นๆที่อยู่ติดกันโดยการสร้างเส้นใยยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรครุนแรงจะแห้ง ร่วงลงไปแตะติดกับใบข้างล่าง และเจริญเข้าทำลายใบเหล่านั้น จนเกิดโรคลุกลามไปหลายจุดในต้น ทำให้เห็นอาการใบไหม้เป็นหย่อมๆ และใบจะค่อยๆร่วงหล่นไปยังโคนต้น การแพร่ระบาด เชื้อราสาเหตุของโรคจะอาศัยอยู่ในเศษซากใบทุเรียนที่หล่นอยู่บริเวณใต้โคนและวัชพืชบางชนิด เมื่อฝนตก เชื้อราจะกระเด็นขึ้นมาโดยเม็ดฝน ติดตามใบทุเรียนที่อยู่ต่ำก่อน เกิดอาการแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก และเจริญสร้างเส้นใยลุกลามและแพร่ส่วนขยายพันธุ์ไปยังส่วนอื่นๆ

โรคใบติดหรือใบไหม้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี https://www.facebook.com/profile.php?id=100007446226945

เกณฑ์การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติด้านพืช จัดทำโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

ทำไม? ต้องปลูกพืชใช้น้ำน้อยแทนข้าวนาปรัง จัดทำโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

เกษตรร่วมใจรับมือภัยแล้ง ปี 2566แตงโม พืชใช้น้ำน้อย ผลตอบแทนสูง จัดทำโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์

การปลูกและการดูแลมะขามป้อมยักษ์ จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดแม่ฮ่องสอน (เกษตรที่สูง) กรมส่งเสริมการเกษตร

ปีเตอร์สัน สายพันธุ์อโวคาโดที่เหมาะสมกับทุกภาคของประเทศไทย จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี (เกษตรที่สูง) กรมส่งเสริมการเกษตร

เพลี้ยไฟ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969