ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

การปาฐกถา เรื่อง “นโยบายของรัฐต่อการส่งเสริมการเกษตร การทำเกษตรปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” โดย นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรวันพุธที่ 4 ธันวาคม 2567 เวลา 9.30 น. ณ อาคารศูนย์เรียนรวม 4 ห้อง 102 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

การปลูกผักสลัดยกแคร่ ส่วนประกอบของดินปลูก วัสดุอุปกรณ์ การเพาะปลูกเพาะเมล็ดผักสลัดลงถาดเพาะกล้า 15 วัน จากนั้นย้ายลงแปลงปลูกยกแคร่ เมื่อผักมีอายุ 30-45 วัน สามารถเก็บเกี่ยวได้ (วันเก็บเกี่ยวขึ้นอยู่กับชนิดผักสลัด) การใส่ปุ๋ย1.หลังจากเพาะปลูกครบ 7 วัน ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 จำนวน 1 ครั้ง2.ให้ฮอร์โมนนมหรือฮอรืโมนไข่ 3-4 วันต่อครั้ง

“คูโบต้า กล้า ท้า ปลูก ปี2” เปิดรับสมัครแล้ว! คลิกเลย >> https://kubotacontest.siamkubota.co.th/ สยามคูโบต้า ร่วมกับ กรมส่งเสริมการเกษตรจัดการแข่งขันปลูกข้าวประเภททีม พัฒนาแปลงเพาะปลูกด้วยนวัตกรรม KAS Crop Calendar On LINE ยกระดับวิถีเกษตรไทยสู่ Smart Farming เรียนรู้วิธีการทำเกษตรยุคใหม่

สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมเจริญอริยมรรค “สัมมาทิฏฐิ” ระลึกถึงพระรัตนตรัย ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ยึดถือ อันเป็นทางเป็นธรรมที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในวันที่ 5 ธันวาคม 2567 และวันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ในวันที่ 7

วันพฤหัสบดี ที่ 28 พฤศจิกายน 2567 รายการศูนย์ขยายกระจายข่าว โดยศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช พูดคุยหัวข้อ “10 วิธีการขยายพันธุ์พืช” https://www.facebook.com/radiothungsongfm97/videos/1102579087643207

10 พืชใช้น้ำน้อยปลูกได้ในฤดูแล้ง ทำไมต้องปลูกพืชใช้น้ำน้อย คะน้าปริมาณน้ำ 300 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ราคา 25 บาท/กิโลกรัม มะระจีนปริมาณน้ำ 500 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ราคา 20 บาท/กิโลกรัม เห็ดฟางปริมาณน้ำ 300 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ราคา 125 บาท/กิโลกรัม แตงกวาปริมาณน้ำ 560 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ราคา 20

การขออนุญาตขนย้ายต้นพันธุ์ ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง เจ้าหน้าที่เก็บสำเนาใบอนุญาตทั้ง 2 ส่วน และดำเนินการต่อ เอกสารเพิ่มเติม : https://www.opsmoac.go.th/kanchanaburi-news-files-432791791112 ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

Kick off ขับเคลื่อนมาตรการรับมือสถานการณ์ไฟป่า หมอกควัน ฝุ่นละออง ปี 2568 ของกรมส่งเสริมการเกษตร วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน 2567 เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมทองกวาว (ชั้น2) สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้ารับชม

ปลูกเมล่อนในโรงเรือนสร้างรายได้ การเตรียมดินใช้ดินทราย 2 ส่วน ขี้วัว 1 ส่วน และผสมไตรโคเดอร์มา เพื่อป้องกันเชื้อรา เพาะเมล็ดแช่เมล็ดในน้ำอุ่น จากนั้นซับด้วยกระดาษทิชชู่ 1 คืน เลือกต้นที่มีรากลงในถาดเพาะ 7-10 วัน แล้วจึงนำลงกระถาง เข้าโรงเรือนที่มีมุ้งสีขาวขนาด 32 ตา ให้น้ำและใส่ปุ๋ยให้น้ำทุกวัน วันละ

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (ข้าวโพด) หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดสำรวจ 10 จุดทั่วแปลง จุดละ 10 ต้น เพื่อประเมินพื้นที่ถูกทำลาย ข้าวโพด อายุ 1-21 วันไม่ระบาด = พบต้นถูกหนอนทำลาย น้อยกว่า 10%รุนแรงน้อย = พบต้นถูกหนอนทำลาย 11-30%รุนแรงมาก = พบต้นถูกหนอนทำลาย

การทำปุ๋ยหมักไม่กลับกอง

การทำปุ๋ยหมักไม่กลับกอง

การทำปุ๋ยหมักไม่กลับกอง ขั้นตอนการทำ1. ถ้าใช้เศษวัสดุทางการเกษตรจะมีอัตราส่วนที่ต่างกัน ได้แก่ ฟางข้าว 4 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนผักตบชวา/กล้วย 6 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนใบไผ่/หญ้า 1 ส่วน : ใบไม้ 4 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนฟางข้าว 4 ส่วน : ก้อนเห็ด 1 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วน 2. โดยนำเศษวัสดุทางการเกษตร ไปวางเป็นชั้นบาง ๆ ตามอัตราส่วน มีความหนาแต่ละชั้นประมาณ 10 เซนติเมตร ฐานกว้าง 2 เมตร ยาว 5 เมตร สูง 1.5 เมตร 3. โรยทับด้วยมูลวัวให้ทั่ว 1 ส่วน แล้วใช้คราดช่วยกระจายมูลวัวและรดน้ำตาม 4. ทำชั้นที่สอง ชั้นที่สามต่อ พร้อมรดน้ำในแต่ละชั้น จนมีความสูง 1.5 เมตร จะได้ประมาณ 15 ชั้น 5. รดน้ำทุกวันๆ ละ 1 ครั้ง และเจาะกองปุ๋ยทุก 7 วัน โดยเจาะรูเฉียงประมาณ 15 องศา ระยะระหว่างรูจะห่างประมาณ 15-30 เซนติเมตร โดยใส่น้ำภายในรูที่เจาะ ประมาณ 5-10 วินาที เมื่อเติมน้ำเสร็จแล้วให้ปิดรู เพื่อไม่ให้สูญเสียความร้อนในกองปุ๋ย 6. ทุก 20 วัน จะสับกองปุ๋ย เพื่อตรวจสอบความชื้นของกองปุ๋ย ถ้าเจอเชื้อราสีขาวภายในกองปุ๋ยแสดงว่าความชื้นไม่ถึง ต้องเติมน้ำเพิ่ม 7. เมื่อกองปุ๋ยมีอายุครบ 60 วัน หยุดให้น้ำและทำการกระจายปุ๋ยหมัก ตากให้แห้ง ปร

ไนโตรเจน (เอ็น) ในดิน

ไนโตรเจน (เอ็น) ในดิน

ไนโตรเจน (เอ็น) ในดิน เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ค่ากรด-ด่าง (พีเฮช)

ค่ากรด-ด่าง (พีเฮช)

ค่ากรด-ด่าง (พีเฮช) ถ้าค่ากรด-ด่าง ต่ำกว่า 5.5 (กรดจัด) จะส่งผลดังนี้ ถ้าค่ากรด-ด่าง สูงกว่า 6.5 (ดินด่าง) จะมีผลต่อการละลายของธาตุอาหารบางชนิด และดินจะระบายน้ำได้ไม่ดี การปรับปรุงดินกรด-ดินด่าง ดินกรด ปรับปรุงด้วยปูนขาว อัตราที่ใช้ ดังนี้ ดินด่าง ปรับปรุงดินด้วย ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก การไถกลบฟาง หรือตอซัง เป็นการเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้กับดิน ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงค่ากรด-ด่าง หรือทำให้ดินมีค่าความเป็น กรด-ด่าง ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ระดับค่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

เปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินกับปุ๋ยสูตรสำเร็จ

เปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินกับปุ๋ยสูตรสำเร็จ

เปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินกับปุ๋ยสูตรสำเร็จ ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปุ๋ยสูตรสำเร็จ เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร