การทำปุ๋ยหมักไม่กลับกอง

การทำปุ๋ยหมักไม่กลับกอง ขั้นตอนการทำ1. ถ้าใช้เศษวัสดุทางการเกษตรจะมีอัตราส่วนที่ต่างกัน ได้แก่ ฟางข้าว 4 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนผักตบชวา/กล้วย 6 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนใบไผ่/หญ้า 1 ส่วน : ใบไม้ 4 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนฟางข้าว 4 ส่วน : ก้อนเห็ด 1 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วน 2. โดยนำเศษวัสดุทางการเกษตร ไปวางเป็นชั้นบาง ๆ ตามอัตราส่วน มีความหนาแต่ละชั้นประมาณ 10 เซนติเมตร ฐานกว้าง 2 เมตร ยาว 5 เมตร สูง 1.5 เมตร 3. โรยทับด้วยมูลวัวให้ทั่ว 1 ส่วน แล้วใช้คราดช่วยกระจายมูลวัวและรดน้ำตาม 4. ทำชั้นที่สอง ชั้นที่สามต่อ พร้อมรดน้ำในแต่ละชั้น จนมีความสูง 1.5 เมตร จะได้ประมาณ 15 ชั้น 5. รดน้ำทุกวันๆ ละ 1 ครั้ง และเจาะกองปุ๋ยทุก 7 วัน โดยเจาะรูเฉียงประมาณ 15 องศา ระยะระหว่างรูจะห่างประมาณ 15-30 เซนติเมตร โดยใส่น้ำภายในรูที่เจาะ ประมาณ 5-10 วินาที เมื่อเติมน้ำเสร็จแล้วให้ปิดรู เพื่อไม่ให้สูญเสียความร้อนในกองปุ๋ย 6. ทุก 20 วัน จะสับกองปุ๋ย เพื่อตรวจสอบความชื้นของกองปุ๋ย ถ้าเจอเชื้อราสีขาวภายในกองปุ๋ยแสดงว่าความชื้นไม่ถึง ต้องเติมน้ำเพิ่ม 7. เมื่อกองปุ๋ยมีอายุครบ 60 วัน หยุดให้น้ำและทำการกระจายปุ๋ยหมัก ตากให้แห้ง ประมาณ 2-3 วัน สามารถนำปุ๋ยไปใช้ได้เลย หรือจะนำใส่กระสอบเพื่อไว้ใช้ในการผลิต รอบต่อไป ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
ไนโตรเจน (เอ็น) ในดิน

ไนโตรเจน (เอ็น) ในดิน เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
ค่ากรด-ด่าง (พีเฮช)

ค่ากรด-ด่าง (พีเฮช) ถ้าค่ากรด-ด่าง ต่ำกว่า 5.5 (กรดจัด) จะส่งผลดังนี้ ถ้าค่ากรด-ด่าง สูงกว่า 6.5 (ดินด่าง) จะมีผลต่อการละลายของธาตุอาหารบางชนิด และดินจะระบายน้ำได้ไม่ดี การปรับปรุงดินกรด-ดินด่าง ดินกรด ปรับปรุงด้วยปูนขาว อัตราที่ใช้ ดังนี้ ดินด่าง ปรับปรุงดินด้วย ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก การไถกลบฟาง หรือตอซัง เป็นการเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้กับดิน ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงค่ากรด-ด่าง หรือทำให้ดินมีค่าความเป็น กรด-ด่าง ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ระดับค่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินกับความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
เปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินกับปุ๋ยสูตรสำเร็จ

เปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินกับปุ๋ยสูตรสำเร็จ ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปุ๋ยสูตรสำเร็จ เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
การเตรียมดินก่อนเพาะปลูก

การเตรียมดินก่อนเพาะปลูก ก่อนการเริ่มฤดูการเพาะปลูก ต้องมีการเตรียมดิน เพื่อให้ดินมีโครงสร้างทางกายภาพที่ดี ระบายน้ำและอากาศได้ดี ปริมาณความชื้นให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และธาตุอาหารของพืชอยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์มีปริมาณเพียงพอเหมาะสมกับการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชแต่ละชนิด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการจัดการดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย