การจัดการแปลงปลูกเพื่อป้องกันศัตรูมะพร้าว
การจัดการแปลงปลูกเพื่อป้องกันศัตรูมะพร้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร
ศัตรูพืชที่ติดไปกับท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง
โรคใบด่างมันสำปะหลัง โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย
โรคจุดดำ หรือ โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง
หนาวแล้ว!! เตือนผู้ปลูกมะม่วง ในระยะแทงช่อดอก – พัฒนาผล รับมือ โรคจุดดำ หรือ โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร โรคจุดดำ หรือ โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง เกิดจาก เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides เข้าทําลายพืชได้ทุกระยะ การเจริญและเกือบทุกส่วนของมะม่วง ไม่ว่าจะเป็นต้นกล้า ยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก ดอก ผลอ่อนจนถึงผลแก่ และผลหลังการเก็บเกี่ยว ทําให้เกิดอาการอย่างน้อยก็เป็นจุดแผลตกค้าง อยู่บนใบ กิ่ง ผล และหากการเข้าทําลายของโรครุนแรงก็จะเกิดอาการใบแห้ง ใบบิดเบี้ยว และร่วงหล่น ช่อดอกแห้งไม่ติดผล ผลเน่าร่วงตลอดจนผลเน่าหลังเก็บเกี่ยว
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
ศัตรูพืชที่ติดไปกับท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง “โรคใบด่างมันสำปะหลัง” เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย
มาทำความรู้จักด้วงเต่าตัวห้ำ
ด้วงเต่า ตัวห้ำ ด้วงเต่าตัวห้ำเป็นแมลงห้ำทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สามารถควบคุมศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย ไรกินพืช รวมทั้งไข่ของแมลงศัตรูพืชอีกหลายชนิด ด้วงเต่าตัวดี ด้วงเต่าตัวร้าย ดาวน์โหลด PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท