ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

พร้อมเดินหน้าเกษตรมูลค่าสูง สานต่อผลสำเร็จจาก 46 แปลง เพิ่ม 200 แปลง ในปี 68 ทำดี ทำต่อ ทำตาม จากคนสำเร็จ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

นักส่งเสริมการเกษตร ต้องเรียนรู้การจัดการสุขภาพพืช วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ รวมถึงประเมินความเสี่ยงและส่งต่อข้อมูลให้เกษตรกร นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

ยกระดับ 50 ศูนย์ปฏิบัติการ เป็น Academy ใช้เทคโนโลยี และงานวิจัยใหม่ ตอบโจทย์สถานการณ์โลก นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

ต้องเร่งสร้างความตระหนักรู้ ผลักดันให้เกษตรกรทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

การทำตลาด เกษตรกรต้องมองถึงอนาคต การสร้างตลาด คือ สร้างประสบการณ์ให้เกษตรกรพบเจอผู้บริโภค ทำให้รู้ว่าผู้บริโภคต้องการสินค้าแบบใด เรียนรู้และปรับตัวไปด้วยกัน ผู้บริโภคต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับไปถึงกระบวนการผลิตได้ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

นักส่งเสริมการเกษตร เป็นความคาดหวังของเกษตรกร เราจะเป็นโค้ช เพื่อต่อยอดพัฒนาด้านต่าง ๆ ให้เกษตรกรเป็นเกษตรกรชั้นนำ สมความคาดหวังของสังคม นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)

Landscape Design การออกแบบพื้นที่เพาะปลูกโดยจัดการที่ดิน น้ำ อย่างเหมาะสม จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

3 แนวคิดหลัก ที่จะปรับโฉมภาคเกษตรไปสู่อนาคต 1. ใช้เทคโนโลยีและวิธีการเกษตรที่ทันโลก เพื่อรับมือกับ Climate Change2. เปลี่ยนใช้เทคโนโลยีอย่างเข้มข้น แทนแรงงาน เพื่อเพิ่มผลผลิต และเข้าถึงตลาด3. ปรับจากปลูกพืชเชิงเดี่ยวไปสู่พืชที่หลากหลาย เพื่อให้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19

เกษตรกรไทย อายุเฉลี่ย 59 ปี นักส่งเสริมการเกษตร ต้องปรับกระบวนการเรียนรู้ อบรมให้เหมาะสมกับวัย เพิ่มเกษตรกรรุ่นใหม่ ส่งเสริมการใช้เครื่องจักร และเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

โลกร้อนขึ้น เกษตรกรต้องปรับตัว ด้วยต้นทุน ความรู้ แรงงาน และเทคโนโลยี นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

หนอนหัวดำมะพร้าว

หนอนหัวดำมะพร้าว

แมลงศัตรูมะพร้าว “หนอนหัวดำมะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลาย จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

แมลงศัตรูมะพร้าว

แมลงศัตรูมะพร้าว

แมลงศัตรูมะพร้าว แมลงดําหนาม ไรสี่ขา ด้วงงวง ด้วงแรด หนอนหัวดํา ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

ขอบใบแห้งในนาข้าว

ขอบใบแห้งในนาข้าว

โรคขอบใบแห้งในนาข้าว สาเหตุ – เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (ex Ishiyama) Swings et al. การแพร่ระบาด – สามารถแพร่ไปกับน้ํา ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูงและมีลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวาง อาการ – เป็นโรคได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ จนถึง ออกรวง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท

โรคใบติดหรือใบไหม้ทุเรียน

โรคใบติดหรือใบไหม้ทุเรียน

โรคใบติดหรือใบไหม้ทุเรียน เกิดจาก เชื้อรา Rhizoctonia solani อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผล คล้ายถูกนํ้าร้อนลวก ต่อมาแผลจะ ขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล มีขนาด และรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อใบที่เป็นโรคร่วงหล่นบริเวณโคนต้นจะกลายเป็นแหล่งสะสมเชื้อรา และกระจายแพร่เชื้อต่อไป มักระบาดในช่วงฤดูฝน ที่มีความชื้นสูง รวมถึงต้นทุเรียนที่มีทรงพุ่มหนา ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา https://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391

ลดความเสี่ยงหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน

ลดความเสี่ยงหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน

มาตรการกรอง 4 ชั้น ลดความเสี่ยงหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน จากแปลงเกษตรสู่การส่งออก มาตรการกรองขั้นที่ 1 มาตรการกรองขั้นที่ 2 มาตรการกรองขั้นที่ 3 มาตรการกรองขั้นที่ 4 จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยhttps://www.facebook.com/AgricultureExtension50