ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

Climate Change ไม่ใช่แค่คำ Fashion ต้องตระหนัก เห็นก่อน รู้ก่อน จะลดความเสียหายได้ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

“นักส่งเสริมการเกษตรกว่าหมื่นคน ต้องปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ เพื่อพาเกษตรกรกว่าล้านคนไปสู่เป้าหมาย” นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 19 ตุลาคม 2567)

เตือนเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เฝ้าระวังการระบาดของหนอนหัวดำในมะพร้าวและพืชตระกูลปาล์ม เตือนเกษตรกรเฝ้าระวังการเข้าทำลายของหนอนหัวดำในมะพร้าว/ปาล์มน้ำมัน สามารถพบได้ทั้งในระยะที่ยังไม่ให้ผลผลิตและให้ผลผลิตแล้ว จะพบตัวหนอนเข้าทำลายแทะกินผิวใต้ทางใบ จากนั้นตัวหนอนจะถักใยโดบใช้มูลที่ถ่ายออกมาผสมเส้นใยที่สร้างขึ้นมาทำอุโมงค์คลุมลำตัวยาวตามใต้ทางใบ ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ภายในอุโมงค์ที่สร้างขึ้นและแทะกินผิวใบแก่ การป้องกันกำจัด 1.ตัดใบที่มีหนอนหัวดำลงทำลาย นำลงมาเผาหรือฝังทำลาย 2.การพ่นด้วยชีวภัณฑ์ “บีที” ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ใช้ในการควบคุมหนอนผีเสื้อศัตรูพืช อัตรา 100 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร ผสมด้วยสารจับใบ 5 มิลลิลิตร ฉีดพ่นต้นละ

ด้วงงวงมะพร้าว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhynchophorus ferrugineus การเข้าทำลายมักพบการเข้าทำลายตามรอยทำลายของด้วงแรดมะพร้าว โดยด้วงงวงมะพร้าว จะวางไข่บนแผลบริเวณลำต้น หรือบริเวณยอดต้นมะพร้าวที่ด้วงแรดเจาะทำลายไว้ หากถูกด้วงงวงมะพร้าวเข้าทำลายจำนวนมาก มะพร้าวจะมีอาการยอดอ่อนเหี่ยวแห้ง ใบเหลืองหักพับ บางครั้งพบการเข้าทำลายที่โคนลำต้น ทำให้ต้นตาย การป้องกันกำจัด วิธีเขตกรรมทำความสะอาดบริเวณสวนมะพร้าว เพื่อกำจัดแหล่งขยายพันธุ์ของด้วงแรด หากพบหนอนหรือดักแด้ด้วงงวงมะพร้าวให้จับมาทำลาย วีธีกลใช้เหล็กยาวปลายเป็นตะขอแทงเข้าไปในต้นเพื่อเกี่ยวตัวหนอนออกมาทำลาย และทาบริเวณรอยแผลด้วยสารทาร์ (เป็นส่วนผสมของน้ำมันเครื่อง 1

มวนถั่วเหลือง ชื่อวิทยาศาสตร์ Riptortus linearisวงศ์ Alydidae : Hemipteraมวนถั่วเหลือง ตัวเต็มวัยมีลำตัวเรียวยาว ด้านข้างลำตัวมีแถบสีเหลืองคาดยาว ข้างละแถบ ขายาว ขาคู่หลังปล้องแรกขยายใหญ่กว่าคู่หน้าชัดเจน การเข้าทำลายสภาพอากาศฝนตกต่อเนื่อง และฝนตกหนักบางพื้นที่ แปลงถั่วเหลืองระยะออกดอก อาจจะพบการเข้าทำลายของมวนถั่วเหลือง ทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย โดยจะดูดน้ำเลี้ยงจากใบ ลำต้น ดอก และฝักของถั่วเหลืองฝักอ่อนที่ถูกทำลายจะลีบ ไม่ติดเมล็ด

ผึ้งชันโรง ลักษณะทั่วไปชันโรงเป็นแมลงวงศ์เดียวกับผึ้ง มีพฤติกรรมเก็บน้ำหวานดอกไม้และละอองเกสรเพศผู้ของดอกไม้มาใช้เป็นอาหาร มีรัศมีการบินหาอาหารประมาณไม่เกิน 300 เมตร การเตรียมการเลี้ยงชันโรง ประโยชน์จากชันโรงในทางเกษตรกรรมมีบทบาทสำคัญในการช่วยผสมเกสรต่อชาวสวนผลไม้อย่างมาก จึงมีผู้หันมาเลี้ยงชันโชงเป็นอาชีพเสริมเพื่อประโยชน์ในการทำสวน โครงสร้างของรังชันโรง ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ

แมลงดำหนามข้าว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicladispa armigera (Olivier) การทำลายตัวเต็มวัยกัดกิน และแทะผิวใบข้าวด้านบน ทำให้เป็นรอยขูดทางสีขาวยาวขนานกับเส้นกลางใบ ส่วนตัวหนอนจะชอนใบข้าว เห็นเป็นรอยแผ่นสีขาวขุ่น มัว ขนานกับเส้นใบ นาข้าวที่ถูกทำลายรุนแรง ใบข้าวจะแห้งและกลายเป็นสัน้ำตาล เหมือนถูกไฟไหม้ คำแนะนำในการป้องกันกำจัด ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม

ประกาศรับสมัครเกษตรกรในพื้นที่อำเภอบางแพ เข้าร่วมอบรมระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เชิญชวนเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วง, มะนาว, กล้วยน้ำว้า และเห็ด ที่มีความสนใจในการทำเกษตรแบบอินทรีย์ เข้าร่วมอบรม “โครงการยกระดับเมืองวิถีเกษตรกรรมสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร” อบรมฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย สนใจติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานเกษตรอำเภอบางแพ

วันที่ 21 ตุลาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการมอบนโยบาย ให้กับบุคลากรของกรมส่งเสริมการเกษตร ในการสัมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 และร่วมแสดงความยินดี เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมการเกษตร ครบรอบ 57 ปี

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ GI มะม่วงน้ำดอกไม้สมุทรปราการ (พันธุ์น้ำดอกไม้เบอร์ 4) ตรา GI เปรียบเสมือนแบรนด์ของท้องถิ่นที่บอกถึงคุณภาพและแหล่งที่มาของสินค้า เกณฑ์การขอใช้ตราสัญลักษณ์ GIผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ผู้ใดสวมสิทธิ์ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท สิทธิประโยชน์ของผู้ที่ได้รับอนุญาตใช้ตราสัญลักษณ์ GI ไทย ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ

ผู้เลี้ยงตั๊กแตนและการป้องกัน

ผู้เลี้ยงตั๊กแตนและการป้องกัน

คำแนะนำสำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยง “ตั๊กแตน” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย https://www.facebook.com/AgricultureExtension50 วิธีการป้องกันกำจัดในแปลงปลูก “ตั๊กแตน”

ด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง

ด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง

การจัดการด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง (Mango Seed Weevil) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :  กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย https://www.facebook.com/AgricultureExtension50 ด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง เป็นศัตรูพืชที่พบการทำลายภายในเมล็ดของผลมะม่วงเท่านั้น โดยหนอนจะเจาะเข้าทำลายเมล็ดตั้งแต่ผลอ่อน หนอนจะเจริญเติบโตอยู่ภายในเมล็ดจนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัย และออกจากผลเมื่อเมล็ดมะม่วงเน่าเปื่อยและมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม

สารเคมีป้องกันกำจัดโรคข้าว

สารเคมีป้องกันกำจัดโรคข้าว

สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูข้าว▪ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก เพลี้ยจักจั่นสีเขียว▪ เพลี้ยไฟ▪ หนอนห่อใบข้าว หนอนกอข้าว▪ แมลงหล่า▪ แมลงบั่ว▪ แมลงสิง จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลกhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

สารเคมีป้องกันกำจัดโรคข้าว

สารเคมีป้องกันกำจัดโรคข้าว

สารเคมีป้องกันกำจัดโรคข้าว▪ โรคใบไหม้ โรคไหม้คอรวง โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง▪ โรคใบจุดสีน้ำตาล▪ โรคขอบใบแห้ง▪ โรคใบขีดโปร่งแสง จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลกhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207