โรคโคนเน่า-รากเน่าในมันสำปะหลัง
โรคโคนเน่า-รากเน่าในมันสำปะหลัง เกิดจากเชื้อราไฟทอปธอรา (Phythopthora meadii) เป็นเชื้อราในดินมันสำปะหลังจะแสดงอาการตั้งแต่อายุ 3 เดือนขึ้นไป โดยเชื้อจะเข้าสู่โคนต้นก่อน ทำให้เกิดอาการบวมพองและมีปุ่มรากที่โคนต้นเหนือผิวดิน จากนั้นเชื้อจะลามลงไปที่รากและก้านขั้วหัวมันส่วนอาการเหนือดิน สังเกตได้จากใบเริ่มซีดเหลือง จากนั้นใบล่างเริ่มแสดงอาการเหี่ยวและแห้งคาต้น เมื่อถอนต้นรากและหัวเน่า แต่ลำต้นยังเป็นปกติ หากเกาตรกรตัดต้นไปขายเป็นท่อนพันธุ์ จะทำให้เชื้อสามารถแพร่ขยายได้ในวงกว้าง การป้องกันกำจัด ในกรณีที่พบการระบาดของโรครุนแรง ควรปฏิบัติดังนี้ จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
การผลิตชีวภัณฑ์แห้ง โดยวิธี PRE-DRY
การผลิตชีวภัณฑ์แห้ง โดยวิธี PRE-DRY เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดพิษณุโลก
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper) วงจรชีวิต ลักษณะการทำลาย แนวทางการป้องกันกำจัด เขตกรรม วิธีกล ชีววิธี สารเคมี การใช้สารเคมี เช่น สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดกลุ่มเพลี้ยจักจั่น ได้แก่ การใช้สารเคมีกำจัดแมลงเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาของเพลี้ยจักจั่น ควรพ่นสารเคมีที่มีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างกันสลับกันตามวงจรชีวิตของแมลง สำหรับเพลี้ยจักจั่นมีวงจรชีวิตประมาณ 1 เดือน ดังนั้น ควรใช้สารที่มีกลไกเดียวกันไม่เกิน 1 เดือน เดือนถัดไปควรเปลี่ยนกลุ่มสารเคมีที่มีกลไกไม่ซ้ำกัน เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา
คำแนะนำการป้องกันหนอนกระทู้
คำแนะนำการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ เฝ้าระวังการระบาดของหนอนกระทู้ เนื่องจากช่วงนี้พบการระบาดของหนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายมันสำปะหลังในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบหนอนกระทู้กล้าเข้าทำลายในข้าว และหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเข้าทำลายข้าวโพด ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้งเป็นเวลานาน และเริ่มมีฝนตกในหลายพื้นที่ ทำให้ดักแด้ที่พักตัวอยู่ในดินพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย (ผีเสื้อกลางคืน) และวางไข่ สภาพอากาศเช่นนี้ทำให้วงจรชีวิตหนอนสั้นลง ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและเข้าทำลายหลายชนิดพืช รูปร่างลักษณะ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด : fall armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith)) หนอนกระทู้กล้า : lawn armyworm (Spodoptera mauritia (Boisduval)) หนอนกระทู้ผัก : common cutworm (Spodoptera litura (Fabricius)) หนอนกระทู้หอม : beet armyworm (Spodoptera exigua (Hubner)) เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
คำแนะนำการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช หนอนกระทู้หอมในมันสำปะหลัง
คำแนะนำการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช หนอนกระทู้หอมในมันสำปะหลัง เลือกใช้สารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่ง และต้องสำรวจแปลงหลังพ่นสารเคมีแล้ว 1-2 วัน หากพบหนอนระบาดอยู่ให้พ้นซ้ำ และควรสลับกลุ่มสารเคมี เพื่อป้องกันการดื้อยา จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย (กอป.) กรมส่งเสริมการเกษตร