10. การปลูกและดูแลน้อยหน่า
การปลูกและดูแลน้อยหน่า
09. การปลูกและดูแลมะปราง
การปลูกและดูแลมะปราง
08. การปลูกและดูแลมะพร้าว
การปลูกและดูแลมะพร้าว
07. การปลูกและดูแลมะม่วง
การปลูกและดูแลมะม่วง
การปลูกและดูแลสตรอว์เบอรี่
การปลูกและดูแลสตรอว์เบอรี่
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
เพลี้ยแป้งในมะละกอ การเข้าทำลายช่วงอากาศร้อนชื้น ในพื้นที่ปลูกมะละกอ ระวังการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในระยะติดผล เพลี้ยแป้งระยะตัวอ่อนแลัตัวเต็มวัย ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ยอดอ่อน ใบ ดอก และผล โดยมีมดดำช่วยพาไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้นมะละกอ การทำลายที่ดอกและผลอ่อน ทำให้ดอกและผลมะละกอหลุดร่วง แนวทางการป้องกันกำจัด กรณีที่จำเป็นต้องใช้สารเคมี แนะนำสารเคมี ได้แก่ *อัตราส่วนต่อน้ำ 20 ลิตร **
ไผ่ซางหม่น ลำตรงขนาดใหญ่เนื้อไม้แข็ง หนา มีความทนทาน ไม่มีหนาม และไม่ค่อยมีแขนง ลำแก่ ไม่ถูกรบกวนจากมอดและแมลง ลักษณะเด่นกอขนาดใหญ่ ลำใหญ่ตรง สูง 15-20 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำ 6-10 เซนติเมตร ปล้องยาว 30-40 เซนติเมตร ลำมีสีเขียวหม่น เนื้อหนา พบมากทางภาคเหนือ
กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ปลูกง่าย รสชาติดี มีคุณค่าทางอาหารและยา ถือเป็นเศรษฐกิจที่สำคัญทั้งในการบริโภคสดและการแปรรูปทั้งภายในประเทศ วิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จุดประสงค์ใหญ่ ๆ 2 ประการ คือ เพื่อเพิ่มจำนวนต้นให้ได้มากในเวลาอันรวดเร็ว และเพื่อให้ได้ต้นที่สะอาด โดยการนำหน่อกล้วยสะอาดที่ผ่านการคัดเลือกต้นกล้วยที่สมบูรณ์ ปลอดโรค ตัดให้เหลือเฉพาะส่วนปลายยอดแล้วจึงย้ายไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ สูตร MS ย้ายชิ้นส่วนยอดทุกเดือนหลังพืชเพิ่มปริมาณยอดได้ 3-5 ยอดต่อเดือน
“ไร่นาสวนผสม” เป็นการทำกิจกรรมการเกษตรหลาย ๆ อย่าง (ตั้งแต่ 2 อย่าง) เพื่อตอบสนองต่อการบริโภค และลดความเสี่ยงจากราคาผลผลิตและภัยธรรมชาติ ซึ่งกิจกรรมการเกษตรไม่จำเป็นต้องเกื้อกูลกัน เช่น การเลี้ยงไก่ สุกร รวมกับการปลูกพืช ชวนอ่านเรื่องราวเหล่านี้ผ่าน 3 เอกสารแนะนำดังนี้ค่ะ ไร่นาสวนผสมคลิกอ่าน : https://bit.ly/3XWFTpz เกษตรกรรมทางเลือก “ไร่นาสวนผสม”คลิกอ่าน : https://bit.ly/3BEtA9U การทำเกษตรระบบไร่นาสวนผสม
นโยบาย ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานที่ต้องเข้าใจการใช้ปุ๋ย ลักษณะของดินดี อินทรีย์วัตถุ สิ่งมีชีวิตในดิน โครงสร้างของดิน ที่มา : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
โรคเมล็ดด่าง สาเหตุ เชื้อราหลายชนิด โดยมีเชื้อราสาเหตุหลัก 6 ชนิด ได้แก่Curvularia lunata, Cercospora oryzae, Bipolaris oryzae, Fusarium semitectum, Trichoconis padwickii และ Sarocladium oryzae ลักษณะอาการในระยะออกรวง พบแผลจุดสีต่าง ๆ
ขอเชิญเที่ยวงานมหกรรมในความทรงจำ 11-13 ตุลาคม 2567 พิพิธภัณฑ์พร้อมส่งตรง สิ่งดีๆ ถึงบ้านท่าน ไม่ว่าจะเป็นภาพบรรยากาศการจัดงาน ตลอดทั้ง 3 วัน การอบรมวิชาของแผ่นดิน และ Workshop เสวนา ในหัวข้อต่าง ๆ พร้อมถ่ายทอดสด 13 ตุลาคม 2567 ช่วงพิธีน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
แมลงบั่ว ตัวเต็มวัยแมลงบั่ว คล้ายยุงหรือตัวริ้น วางไข่เดี่ยวหรือกลุ่ม 3-4 ฟอง ไข่มีลักษณะคล้ายกล้วยหอมสีชมพูอ่อน ตัวหนอนคล้ายหนอนแมลงวัน หัวท้ายเรียว ตัวหนอนมี 3 ระยะ (วงจรชีวิตของแมลงบั่ว 25-30 วัน) การเข้าทำลาย แมลงบั่วจะเริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะกล้า (ข้าวอายุ 1 เดือน) โดยบินเข้าหาแสงไฟเพื่อผสมพันธุ์ ตัวหนอนเข้าไปเจริญเติบโตในกาบใบข้าว
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยการใช้สารธรรมชาติที่มีในพืช จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอธัญบุรี
การปลูกและดูแลน้อยหน่า
การปลูกและดูแลมะปราง
การปลูกและดูแลมะพร้าว
การปลูกและดูแลมะม่วง
การปลูกและดูแลสตรอว์เบอรี่