ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เฝ้าระวัง! เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว ลักษณะการทำลายตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เข้าทำลายต้นข้าวได้ทุกระยะ ตั้งแต่ข้าวเริ่มแตกกอ แตกกอเต็มที่ และระยะออกรวง ทำลายข้าวโดยการดูดกินน้ำเลี้ยงจากเซลล์ท่อน้ำท่ออาหาร บริเวณโคนต้นข้าวระดับเหนือผิวน้ำ ทำให้ต้นข้าวมีอาการใบเหลืองแห้งลักษณะคล้ายถูกน้ำร้อนลวกแห้งตายเป็นหย่อม ๆ เรียกว่า “อาการไหม้” (hopperburn) เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2เป็นสับปะรด ที่พัฒนาขึ้นที่ฮาวาย สหรัฐอเมริกา เพื่อให้ขนส่งทางเรือได้ โดยไม่เป็น “ไส้สีน้ำตาล” สามารถอยู่ในห้องเย็นที่อุณหภูมิ ต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส นานกว่า 10 วัน รสชาติหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เนื้อมีสีเหลืองเข้ม เนื้อต้น แน่น ไม่เป็นโพรง น้ำหนักผลโดยเฉลี่ย

โรคไหม้ในข้าว

โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบทุกภาคในประเทศไทย ในข้าวนาสวน ทั้งนาปีและนาปรัง และข้าวไร่ ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้อาการ ระยะแตกกอ

การทำนาแห้ว

แผ่นพับที่ 6/2567 การทำนาแห้ว ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี แห้วที่ปลูกในปัจจุบันคือ “แห้วพันธุ์จีน” มีลำต้นคล้ายต้นหอมหรือใบกก ลักษณะปลูกคล้ายข้าว แห้วจีนเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยคาดการณ์ว่าอยู่ในสาธารณรัฐประชาชนจีน และมีการนำไปปลูกยังเขตร้อนต่าง ๆ หลายประเทศ ซึ่งแหล่งปลูกแห้วจีนที่ใหญ่ที่สุดคือจังหวัดสุพรรณบุรี และถือเป็นพืชเศรษฐกิจท้องถิ่นที่สำคัญ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียง : กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

หนอนกอข้าว

หนอนกอข้าว ลักษณะการทำลายหนอนกอ เข้าทำลายข้าวลักษณะเดียวกันโดยหลังหนอนฟักไข่จะเจาะเข้าทำลายกาบใบก่อน ทำให้กาบใบมีสีเหลืองหรือสีน้ำตาล ซึ่งจะเห็นเป็นอาการช้ำ ๆ เมื่อฉีกกาบใบจะพบตัวหนอน เมื่อหนอนโตขึ้นจะเข้ากัดกินส่วนของลำต้น ทำให้เกิดอาการใบเหี่ยวในระยะแรก ใบและยอดที่ถูกทำลายจะเหลืองในระยะต่อมา ซึ่งทำให้เกิดอาการ “ยอดเหี่ยว” (deadheart) ถ้าหนอนเข้าทำลายในระยะข้าวตั้งท้อง หรือหลังจากข้าวออกรวงจะทำให้เมล็ดข้าวลีบทั้งรวง รวงข้าวมีสีขาว เรียกอาการนี้ว่า “ข้าวหัวหงอก” (whitehead) แนวทางการป้องกัน/กำจัด เรียบเรียง :

หนอนห่อใบข้าว

หนอนห่อใบข้าว รูปร่างลักษณะหนอนที่ฟักจากไข่ใหม่ ๆ มีสีขาวใส หัวมีสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มที่มีสีเขียวแถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม หนอนโตเต็มที่จะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกสัมผัส หนอนมีระยะการเจริญเติบโต 5-6 ระยะ ส่วนใหญ่มี 5 ระยะ หนอนวัยที่ 5 เป็นวัย ที่กินใบข้าวได้มากที่สุด ตัวเต็มวัยตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกสัน้ำตาลเหลืองมีแถบสีดำพาดที่ปลายปีก ตรงกลางปีกมีแถบสีน้ำตาลพาดขวาง 2-3 แถบ

โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง ปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรค แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี

ชวนอ่านเรื่องราวของ “การฟิ้นฟูแปลงผัก พืชสมุนไพร ยางพารา และสวนมะพร้าวหลังน้ำลด”รู้ก่อน เข้าใจก่อน กับ 4 เอกสารแนะนำดังนี้ การฟื้นฟูแปลงผักหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/48HwaaH การฟื้นฟูพืชสมุนไพรหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/3U4phvu การฟื้นฟูสวนยางพาราหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/42336ry การฟื้นฟูมะพร้าวหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/3T5S6q4 เรียบเรียง

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567 จัดทำโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร จัดกิจกรรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” จำนวนผู้เข้าอบรม 66 ท่าน โดยแบ่งเป็นรอบเช้า 36 ท่าน รอบบ่าย 30 ท่าน วิทยากรโดย กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ณ ห้องประชุม

35. ชันโรง(ผึ้งจิ๋ว) นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกร

35. ชันโรง(ผึ้งจิ๋ว) นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกร

ชันโรง(ผึ้งจิ๋ว) นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกร ชันโรง นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต โดยเฉพาะไม้ผล ทำให้ได้ผลผลิตสูงขึ้นทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ มาทำความรู้จักกับแมลงจิ๋วชนิดนี้ให้มากขึ้น ใต้โพสต์นี้กันเลยค่ะ

ฟาร์มผึ้งชันโรง-GAP

ฟาร์มผึ้งชันโรง-GAP

แผ่นพับที่ 13/2566 การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่มาตรฐานฟาร์มผึ้งชันโรง (GAP) เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมแมลงเศรษฐกิจ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์

แมลงพารวย บทที่ 6 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บ และการแปรรูปผลผลิตจากชันโรง

แมลงพารวย บทที่ 6 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บ และการแปรรูปผลผลิตจากชันโรง

บทที่ 6 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บ และการแปรรูปผลผลิตจากชันโรง โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “แมลงพารวย” สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร AM 1386 KHz Website : www.am1386.com Facebook : www.facebook.com/am1386 Youtube : AM1386 Radio

ชันโรง

ชันโรง

ชันโรง ภาพโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดจันทบุรี https://web.facebook.com/Beekeepingchan/posts/pfbid0AxrRjbA6CDJzkofYP1sPKHowv6XpomZnbNVgDNer5ZozrHZawBPHmX1TswK5ez6Ql จุดเรียนรู้การเลี้ยงชันโรง ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดจันทบุรี ภาพโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จ.เชียงใหม่ https://web.facebook.com/bee.centercm/posts/pfbid0QwjjdARbVuvvj1KpL77bdR3D6UuMCXoVvuJdyGMyMaehkYJJYHUSY3VP3YXyRzGrl