ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

กระท้อน คลองน้อย สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ลำดับที่ 7 จังหวัดสุราษฎร์ธานี กระท้อนพันธุ์อีล่าและพันธุ์ปุยฝ้าย จากแหล่งปลูกที่เป็นดินสองน้ำ (น้ำจืดผสมน้ำกร่อย) ทรงผลค่อนข้างกลม ผิวเปลือกสีเหลืองทอง เปลือกบาง เนื้อหนา ไม่ฝาด ปุยหรือเนื้อหุ้มเมล็ดฟู หนา แน่น สีขาว รสชาติหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย ปลูกในพื้นที่ตำบลคลองน้อย บางไทร

ปลูกแตงโมหลังทำนา สร้างอาชีพ การเตรียมดินไถดะตากดิน 7 วัน และไถพรวนยกร่อง ระยะปลูก 40-50 เซนติเมตร ระยะแถว 3 เมตร ใส่ปุ๋ยคอก 1 ตัน/ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ พ่นไตรโคเดอร์มา

ขอเชิญเกษตรกรและผู้สนใจ ฝึกอบรมการผลิตพืชพันธุ์ดี ประจำเดือนมกราคม 2568 ฟรี วันที่ 7 มกราคม 2568วันที่ 8 มกราคม 2568วันที่ 9 มกราคม 2568 หลักสูตร พืชพันธุ์ดี 4 สายการผลิต เพื่อคุณภาพชีวิตเกษตรกร ได้แก่1.การผลิตต้นพันธุ์ พริกเดือยไก่

สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านหมี่ รับสมัครเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมอบรมแหนแดง การเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์แหนแดง วันที่ 23 มกราคม 2568กิจกรรม : อบรมการเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์แหนแดงณ ศูนย์เรียนรู้กสิกรรมไร้สารพิษละโว้ อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี วันที่ 24 มกราคม 2568กิจกรรม : การศึกษาดูงานการเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์แหนแดงตามหลักวิชาการณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครสวรรค์ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ เข้าดูรายละเอียดเพิ่มเติม

คำแนะนำการป้องกันกำจัด เพลี้ยจักจั่นมะม่วง ชื่อวิทยาศาสตร์1.Idioscopus clypealis (Lethierry)2.Idioscopus niveosparsus (Lethierry) วงจรชีวิตตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ รูปร่างยาวรี สีเหลืองอ่อน ตามแกนกลางใบอ่อนหรือก้านช่อดอกปรากฎเป็นรอยแผลเล็ก ๆ คล้ายรอยมีดกรีด ภายหลังจากการวางไข่แล้ว ประมาณ 1-2 วัน จะเห็นยางสีขาวของมะม่วงไหลหยดออกให้เห็น ระยะไข่ 7-10 วัน

การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้มีวิธีการหรือขั้นตอนหลากหลายตามลักษณะสกุลหรือพันธุ์ที่ต้องการ หากเกษตรกรหรือผู้สนใจปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สกุลหรือพันธุ์ใด จำเป็นต้องศึกษาและทำความเข้าใจกล้วยไม้สกุลหรือพันธุ์นั้น ๆ ก่อน โดยสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก 2 เอกสาร ด้านล่าง สวนกล้วยไม้ GAP สำหรับเกษตรกรคลิกอ่าน : https://bit.ly/40rr54E การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้แบบมืออาชีพคลิกอ่าน : https://bit.ly/3NXdDPU

ขอเชิญเกษตรกร ผู้ที่สนใจ เข้าร่วม การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การผลิตนางพญาผึ้งสายพันธุ์ดี” ณ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร

หนอนกระทู้ผัก (common cutworm) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Spodoptera litura (Fabricius)วงศ์ : Noctuidaeอันดับ : Lipidoptera วงจรชีวิตหนอนกระทู้ผักเฉลี่ย 25-35 วัน ลักษณะการทำลายเมื่อหนอนฟักออกจากไข่จะอยู่รวมเป็นกลุ่ม กัดแทะเฉพาะผิวใบเหลือแต่เส้นใบ เห็นเป็นสีขาว เมื่อหนอนโตขึ้นจะสามารถกัดกินได้ปริมาณมากและรวดเร็ว ทำให้ใบพืขขาดเป็นรู ในช่วงกลางวันหนอนมักจะหลบอยู่ใต้ใบ ตามซอกของใบ

รับสมัครเกษตรกรเข้าร่วม โครงการปลูกพืชใช้น้ำน้อย เงื่อนไขเข้าร่วมโครงการ เอกสารการสมัคร **สมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปจนกว่าจะครบจำนวน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย

กรมส่งเสริมการเกษตร ชวนเกษตรกรทำการเกษตรแบบปลอดการเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร จัดการแปลงเกษตรปลอดการเผา มุ่งสู่มาตรฐาน GAP เพื่อเพิ่มสินค้าคาร์บอนต่ำ ช่วยให้อากาศสะอาด ไม่ก่อฝุ่นละออง PM2.5 ช่วยลดต้นทุนการผลิตและสร้างรายได้ให้เกษตรกรด้วย “3R Model”

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 303 (มีนาคม – เมษายน 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 303 (มีนาคม – เมษายน 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร นาขาวัง กลุ่มแปลงใหญ่ข้าวเขาดิน หมู่ที่ 4 ตำบลเขาดิน อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา หน้า 6 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ การขยายพันธุ์พืชและแหล่งพืชพันธุ์ดี หน้า 8 เกษตร Next Genโครงการดี ๆ เพื่อพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ สู่ผู้ประกอบการชั้นนำ “โครงการพัฒนา Smart Farmer ผู้ประกอบการต้นแบบเพื่่อยกระดับเกษตรกร เป็นผู้ประกอบการเกษตรชั้นนำ หรือ Agri BIZ Idol Development Project” หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรเปิดตัว สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่่อการเกษตร โฉมใหม่ รับฟังข่าวสารทางการเกษตรก่อนใครได้ ทุกที่ ทุกวัน ทุกเวลา หน้า 14 เรื่องจากปกแนวทางการบริหารจัดการผลไม้ภาคตะวันออก และมาตรการ Zero – COVID สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ หน้า 18 เกษตรรอบทิศองุ่นเกาะกลาง ปลอดภัย รสชาติดี ต้องที่นี่ เกาะยาว พังงา หน้า 20 เกษตร Storyณิชกรข้าวแตน เมืองมีน สร้างรอยยิ้ม สร้างรายได้ สร้างความสุขของชุมชน หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่ผลสำเร็จโครงการพัฒนาธุรกิจบริการดินและปุ๋ยเพื่่อชุุมชน (One Stop Service) ช่วยเกษตรกรลดต้นทุนค่าปุ๋ยเคมี ได้กว่า 200 ล้านบาท หน้า 27 เกษตร Digitalการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในงานส่งเสริมการเกษตร หน้า 29 เกษตร Field tripจิบชา พาลอดอุโมงค์ไผ่ เรียนรู้การปลูกไผ่เศรษฐกิจ ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การเกษตรจังหวัดน่าน Special31-32 ห้ามพลาด!!! งาน Field Day ปี 2565 ถ่ายทอดความรู้แบบเห็นของจริง 33-34 เตรียมความพร้อม เอกสารหลักฐานสำหรับ ยื่นขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร จับตาภัยเกษตรในปกหลัง เฝ้าระวังการระบาดของหนอนเจาะเมล็ดทุเรียนปกหลัง มังคุดผลเล็ก “ภาคตะวันออก” รสเข้มสุดฟิน อร่อยพอดีคำ ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 302 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 302 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร การแปรรูปกาหยู (เม็ดมะม่วงหิมพานต์) วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเกาะพยาม ตำบลเกาะพยาม อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง หน้า 6 เกษตร FocusQuestion & Answer Doae e-Leaning กับการพัฒนาบุคลากรกรมส่งเสริมการเกษตรแบบ NEXT STEP หน้า 8 เกษตร Next Genวันยุวเกษตรกรโลก 2564 : Global 4-H Day 2021 มุ่งมั่นการพัฒนาเยาวชนภาคการเกษตรสู่การพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตรพร้อมส่งมอบต้นกล้ากระท่อมพันธุ์ดี หน้า 14 เรื่องจากปกDOAE NEXT STEP ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตรวิถีใหม่ นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้าถึงเกษตรกร หน้า 18 เกษตรรอบทิศ“สวนถุงแป้ง” สวนส้มแห่งเดียวในจังหวัดพังงา เกษตรกรยุคใหม่ วิถี New Normal หน้า 20 เกษตร Storyเพลิน สแนคกล้วยหอมทอง อร่อยเพลิน จนวางไม่ลง หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่นวัตกรรมการเลี้ยงจิ้งหรีดแนวตั้งด้วยระบบอัตโนมัติ หน้า 26 เกษตร Digitalก้าวสู่องค์กรดิจิทัลด้วยการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signature หรือ e-Signature) หน้า 28 เกษตร Field tripสัมผัสบรรยากาศสุดชิค ครบทั้งความรู้และเพลิดเพลินกับธรรมชาติ ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ Specialหน้า 31-32 เกษตรกรยุคใหม่ ร่วมใจหยุดเผา ด้วย 9 ทางเลือกจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร หน้า 33-34 เตรียมพร้อมรับมือ ควบคุมและป้องกันทุเรียนอ่อนภาคตะวันออก จับตาภัยเกษตรในปกหลัง โรคใบร่วงยางพาราชนิดใหม่ ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 54 ฉบับที่ 301 (กันยายน – ตุลาคม 2564)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 54 ฉบับที่ 301 (กันยายน – ตุลาคม 2564)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผล หน้า 7 เกษตรโฟกัส หน้า 10 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตร หน้า 15 เรื่องจากปก หน้า 20 เกษตรรอบทิศ หน้า 24 ชายคา DOAE หน้า 26 เกษตรอัตลักษณ์ หน้า 28 เกษตรมิติใหม่ หน้า 30 เกษตรเชิงพื้นที่ หน้า 32 เกษตรเช็คอิน จับตาภัยเกษตรปกหลัง โรคใบร่วงยางพารา ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี