ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

กับดักมอดเจาะผลกาแฟ อุปกรณ์ ขั้นตอนการทำกับดัก วิธีการใช้งานกับดักมอดเจาะผลกาแฟพื้นที่ปลูกกาแฟ 1 ไร่ ใช้กับดัก 5-10 จุด เติมสารล่อทุก 2 สัปดาห์ ควรแขวนกับดักมอดเจาะผลกาแฟ บริเวณกิ่งก้านของต้นกาแฟ ให้กระจายทั่วพื้นที่ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

49.พืชพันธุ์ดี ดีอย่างไร ซื้อที่ไหนได้ของดี

49.พืชพันธุ์ดี ดีอย่างไร ซื้อที่ไหนได้ของดี

อยากได้พันธุ์พืชไปเพาะปลูก ต้องทำอย่างไร เรียนรู้ได้ที่ไหน และหาซื้ออย่างไรดี ? วันนี้ กรมส่งเสริมการเกษตร มัดรวมให้แล้ว กับ “พืชพันธุ์ดี ดีอย่างไร ซื้อที่ไหนได้ของดี” โพสต์เดียวครบ จบทุกเรื่อง คลิกอ่าน กดไลก์ กดแชร์ กันเลย

48.วิธีการรับมือ ระหว่าง – หลัง การเกิดภัยแล้ง

48.วิธีการรับมือ ระหว่าง – หลัง การเกิดภัยแล้ง

แล้งนี้ต้องรอด! #DOAE แนะนำวิธีการรับมือ ระหว่าง – หลัง การเกิดภัยแล้ง ที่เกษตรกรชาวสวนควรรู้ ตั้งแต่ผลกระทบของภัยแล้ง จนถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาเมื่อเผชิญเหตุ เกษตรกรต้องทำอย่างไร? รับมือด้วยวิธีการไหน? สวนไม้ผลถึงอยู่รอดปลอดภัย คลิกอ่านได้ในโพสต์นี้เลย

46. รู้จักดิน ดีหรือยัง

46. รู้จักดิน ดีหรือยัง

การผลิตพืชให้ได้ผลผลิตสูง ต้องรู้จักธรรมชาติของดินก่อน ว่าแต่… รู้จักดิน ดีหรือยัง วันนี้ กรมส่งเสริมการเกษตร ชวนทำความรู้จักตั้งแต่ ประเภทของดิน , ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช , พืชขาดธาตุอาหารจะแสดงอาการอย่างไร , ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินกรด ดินด่างฯ มีแนวทางการจัดการหรือไม่ คลิกอ่านเลยค่ะ โพสต์เดียวครบ จบทุกเรื่อง

45. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (แบบน้ำนิ่ง) เพื่อจำหน่าย

45. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (แบบน้ำนิ่ง) เพื่อจำหน่าย

ถามเข้ามาเยอะมากว่าปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (แบบน้ำนิ่ง) เพื่อจำหน่ายทำอย่างไรดี?.วันนี้พามาทำความรู้จักตั้งแต่ ข้อดี-ข้อเสียของการปลูก กระบวนการเตรียมอุปกรณ์ การเพาะกล้า การให้ปุ๋ย กระบวนการเก็บเกี่ยวเพื่อจำหน่าย ใครอยากรู้ว่าต้องทำอย่างไร คลิกอ่านได้เลยค่ะ

44. เกษตรกรรับมือภัยเเล้ง

44. เกษตรกรรับมือภัยเเล้ง

เมื่อภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง เดี๋ยวร้อน เดี๋ยวแล้ง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลแบบนี้ เกษตรกรไทยต้องรับมือและปรับเปลี่ยนอย่างไรดี วันนี้ DOAE หาคำตอบมาให้แล้วค่ะ