ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เตือนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ระวัง “หนู” สัตว์ศัตรูพืช ระบาดในพื้นที่การเกษตร การป้องกันและกำจัด เรียบเรียง :  กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

การเพาะกล้าผัก

การเพาะกล้าผัก วัสดุเพาะ อุปกรณ์ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งคอย​ จังหวัดสระบุรี ประชาสัมพันธ์​เกษตรกรและประชาชนทั่วไป​ ร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่​ ในพระราชานุเคราะห์ฯ ครั้งที่​ 4​ ประจำปี​ 2567​ ในวันพุธที่​ 24​ กรกฎาคม​ 2567​ เวลา​ 08.00 น.​ เป็นต้นไป (นำบัตรประชาชนติดมาด้วย)  เครื่องแต่งกายเสื้อโทนสีเหลือง กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย การให้บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่

ขอเชิญร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 จังหวัดพิจิตร ในวันอังคารที่ 30 กรกฎาคม 2567 ณ วัดหงษ์ ตำบลย่านยาว อำเภอเมืองพิจิตร

กาหยูเกาะพยาม

แผ่นพับที่ 10/2567 กาหยูเกาะพยาม ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดระนอง มะม่วงหิมพานต์ หรือ “กาหยู” มีแหล่งปลูกในจังหวัดระนอง ปลูกเยอะที่สุดที่ตำบลเกาะพยาม ด้วยสภาพพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย จึงเหมาะสำหรับปลูกกาหยู ทำให้เมล็ดมีลักษณะเนื้อแน่น รสชาติหวานมัน กรอบ อร่อย รวมถึงการแปรรูปกาหยูที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการคั่วแบบโบราณและคั่วเมล็ดด้วยข้าวสาร จึงมีกลิ่นหอมตามธรรมชาติ เรียบเรียง : กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร

“3R Model : 3 เปลี่ยน” โมเดลที่จะชวนเกษตรกรไทย หยุดเผาในพื้นที่เกษตรอย่างยั่งยืน ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชนิดพืช และเปลี่ยนเป็นพืชทางเลือก อ่านเรื่องราวแบบละเอียด รวมถึงวิธีการที่จะนำมาซึ่งการหยุดเผา การลดต้นทุน และการเพิ่มรายได้ ใน 4 เอกสารแนะนำดังนี้ 1. แนวทาง 3R Model :

ฮอร์โมนไข่

ฮอร์โมนไข่ ทำง่าย ต้นทุนต่ำ ช่วยเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต ส่วนผสม วิธีทำ วิธีใช้ใช้อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร สามารถใช้ได้ 80 ไร่ จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

หนอนปลอกข้าว

หนอนปลอกข้าว ตัวเต็มวัยตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกสีขาวมีแถบสีน้ำตาลอ่อนถึงดำ 2-3 แถบตามขอบปีก ลักษณะและการระบาด การป้องกันและกำจัด 1. ระบายน้ำออกจากแปลงนา เพื่อทำลายตัวหนอน และระงับการแพร่ระบาดในนาข้าว เพราะหนอนจะระบาดโดยปลอกลอยไปตามน้ำ ถ้าเอาน้ำออก หนอนก็จะระบาดไม่ได้ 2. ใช้สารฆ่าแมลง เมื่อตรวจพบใบถูกทำลายมากกว่า 15% หรือพบใบห่อ 6-8 ใบ ต่อ

หนอนห่อใบข้าว

ระวัง! หนอนห่อใบข้าว ลักษณะการทำลาย เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทุกคน มาอ่านเรื่องราวของดินและปุ๋ย

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทุกคน มาอ่านเรื่องราวของดินและปุ๋ย

รู้หรือไม่ ? ถ้ารู้จัก “ดิน” ดีกว่าใคร จะมีชัย “ในการปลูก” ไปกว่าครึ่ง จันทร์นี้เลยอยากจะชวนทุกคน มาอ่านเรื่องราวของดินและปุ๋ย เนื่องจากการผลิตพืชเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง และคุ้มค่าต่อการลงทุนนั้น ต้องรู้จักธรรมชาติของดินในพื้นที่ปลูกของตนเองก่อน เกษตรกรจึงจะสามารถเลือกใช้ปุ๋ยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพนั่นเอง ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้ 1. รู้จักดินดีหรือยัง? คลิกอ่าน : https://bit.ly/3K10gey 2. การจัดการดินและปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ คลิกอ่าน : https://bit.ly/3dT42Id 3. การจัดการดินและปุ๋ยในพืชผัก คลิกอ่าน : https://bit.ly/3qjnshB 4. วิธีการเก็บตัวอย่างดิน เพื่อตรวจวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช คลิกอ่าน : https://bit.ly/3zAIdtA

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน”

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ "เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน"

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน” ฤดูฝนมาเเล้ววว เกษตรกรที่ต้องการเพาะปลูกพืชผักในช่วงนี้ จำเป็นต้องเลือกชนิดผักให้เหมาะสมกับฤดู เช่น กวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ถั่วฝักยาว ฟักทอง มะระ บวบ พริก มะเขือฯ และจำเป็นที่จะต้องระวังเรื่องโรคพืชที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน กับ 3 เอกสารแนะนำ ดังนี้ ปลูกและดูแลพืชผักอย่างไรให้รอดในช่วงฤดูฝนคลิกอ่าน : https://bit.ly/3OZ6DRC 7 เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝนคลิกอ่าน : https://bit.ly/4bLVD4c 5 โรคพืชหน้าฝนคลิกอ่าน : https://bit.ly/3VsYiKG สามารถเข้าดูเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ >> https://bit.ly/4dEoSHO

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “มังคุด” ราชินีผลไม้

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “มังคุด” ราชินีผลไม้

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “มังคุด” ราชินีผลไม้ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “มังคุด” ราชินีผลไม้ ผลไม้ที่อัดแน่นไปด้วยคุณประโยชน์ นอกจากจะขายแบบผลสดแล้ว ยังสามารถนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เช่น น้ำมังคุด ซอสมังคุด แยมมังคุด เป็นต้น ชวนเรียนรู้เรื่องราวของมังคุดกับ 5 เอกสารที่อยากแนะนำ ด้านล่างเลยค่ะ มังคุด ราชินีผลไม้คลิกอ่าน >> https://bit.ly/4dRnVvC คู่มือมังคุด จังหวัดชุมพรคลิกอ่าน >> https://bit.ly/44Xy2ew เส้นทางการผลิตมังคุดคุณภาพคลิกอ่าน >> https://bit.ly/4bPCqyp การผลิตมังคุดนอกฤดูคลิกอ่าน >> https://bit.ly/3WOXvED น้ำหมักเปลือกมังคุดคลิกอ่าน >> https://bit.ly/3WQGXMG สามารถเข้าดูเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ >> https://bit.ly/4dEoSHO

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “ผึ้ง” นักผสมเกสรตัวจิ๋ว

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “ผึ้ง” นักผสมเกสรตัวจิ๋ว

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “ผึ้ง” นักผสมเกสรตัวจิ๋ว เนื่องใน วันผึ้งโลก กันค่ะ “ผึ้ง” สร้างประโยชน์ทางการเกษตรอย่างมาก นอกจากจะช่วยผสมเกสรเพิ่มผลผลิตพืช เช่น เงาะ ลําไย ลิ้นจี่ ส้ม มะพร้าว มะม่วงฯ แล้ว ยังเป็นแมลงเศรษฐกิจ สามารถสร้างรายได้ สร้างอาชีพให้เกษตรกรไทยอีกด้วย เล่าง่ายๆ ได้ใจความกับ 5 เรื่องที่แนะนำด้านล่างเลยค่ะ 1.รู้เรื่องผึ้งและแมลงเศรษฐกิจของไทย คลิกอ่าน : https://bit.ly/3UO51xg 2.ชันโรง(ผึ้งจิ๋ว) นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกร คลิกอ่าน : https://bit.ly/3OhC2Qy 3.ชี้เป้า 5 แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ คลิกอ่าน : https://bit.ly/3IsXRsN 4.การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ คลิกอ่าน : https://bit.ly/4blDg6e 5.ชี้เป้าแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผึ้งและชันโรง คลิกอ่าน : https://bit.ly/3UWcLhI สามารถเข้าดูเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ >> https://bit.ly/3dFZ7ZA

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ “ทุเรียน”

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ "ทุเรียน"

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ “ทุเรียน” ผลไม้เศรษฐกิจที่สำคัญของไทย กับ 4 เนื้อหา ที่เล่าแบบเข้าใจง่าย คลายข้อสงสัยให้ทั้งผู้ปลูกและผู้บริโภค 1. คนชอบกินทุเรียนทุกคนต้องรู้ คลิกอ่าน : https://bit.ly/3KwKRUi 2. หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน และการป้องกันกำจัดด้วยวิธีผสมผสาน คลิกอ่าน : https://shorturl.at/abux9 3. คู่มือการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน “การควบคุมศัตรูทุเรียน” คลิกอ่าน : https://bit.ly/4acgD2H 4. การขยายพันธุ์ทุเรียนเสียบยอดด้านข้าง คลิกอ่าน : https://bit.ly/3Rgr0uP สามารถเข้าดูเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ >> https://bit.ly/3dFZ7ZA แล้วพบกันใหม่ครั้งหน้า กับ #เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ทุกวันจันทร์ เวลา 8.00 น. ค่ะ