เกร็ดความรู้สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงครั่ง

เกร็ดความรู้สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงครั่ง หลังจากปล่อยครั่งไปแล้ว 1 เดือน ครั่งจะขับถ่ายมูลหวาน ออกมาจากช่องขับถ่าย หากเกษตรกรที่ปล่อยครั่งบนต้นจามจุรีที่มีขนาดใหญ่ อาจจะสังเกตการเจริญเติบโตของครั่งได้ยาก ดังนั้นเรามีเทคนิคในการสังเกตครั่งมาฝากกันค่ะ 1.ไม้อาศัยต้นเตี้ย ก็จะเห็นการเจริญเติบโตของครั่งได้ชัดเจน มีการสร้างไขสีขาว และการขับน้ำหวานที่มีสีใสออกมา เมื่อสัมผัสอากาศนาน ๆ ก็จะเริ่มแข็งตัวและเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สีทอง สีน้ำตาล 2.ไม้อาศัยต้นใหญ่และมีความสูงมาก เราอาจจะสังเกตได้ดังนี้ เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่
แมลงพารวย บทที่ 8 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปผลผลิตจากครั่ง

บทที่ 8 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปผลผลิตจากครั่ง โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “แมลงพารวย” สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร AM 1386 KHz Website : www.am1386.com Facebook : www.facebook.com/am1386 Youtube : AM1386 Radio
แมลงพารวย บทที่ 7 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปผลผลิตจากครั่ง

บทที่ 7 ความสำคัญ ชีววิทยา การเลี้ยง การจัดการ การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปผลผลิตจากครั่ง โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “แมลงพารวย” สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร AM 1386 KHz Website : www.am1386.com Facebook : www.facebook.com/am1386 Youtube : AM1386 Radio
รู้จักกับแมลงครั่ง

รู้จักกับแมลงครั่ง จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จ.เชียงใหม่ ที่มา : https://www.facebook.com/bee.centercm/posts/pfbid02ENWoJdxRo6NfGGxCsyBsEWbwxaGdpemuPQWdXtK9xgDPkxtoQeTCrbDAQjVu5Qh3l