ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

เทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งในนาข้าว การทำนาเปียกสลับแห้ง คือ การทำนาโดยควบคุมระดับน้ำในแปลงนาให้มีช่วงน้ำขัง กับช่วงน้ำแห้งสลับกันในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้รากและลำต้นของต้นข้าวแข็งแรงขึ้น เนื่องจากดินและรากได้รับอากาศพอ ก็สามารถดูดปุ๋ยได้ดีขึ้น ทำให้ลดการใช้ปุ๋ย 1.การเตรียมดิน ปรับพื้นที่ให้เรียบสม่ำเสมอและสามารถจัดระบบน้ำได้ 2.การติดตั้งท่อพีวีซี (PVC) เพื่อดูระดับน้ำ เตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 25 ซม. เจาะรูห่างกัน

ผึ้งชันโรง

ผึ้งชันโรง

ผึ้งชันโรง ลักษณะทั่วไปชันโรงเป็นแมลงวงศ์เดียวกับผึ้ง มีพฤติกรรมเก็บน้ำหวานดอกไม้และละอองเกสรเพศผู้ของดอกไม้มาใช้เป็นอาหาร มีรัศมีการบินหาอาหารประมาณไม่เกิน 300 เมตร การเตรียมการเลี้ยงชันโรง ประโยชน์จากชันโรงในทางเกษตรกรรมมีบทบาทสำคัญในการช่วยผสมเกสรต่อชาวสวนผลไม้อย่างมาก จึงมีผู้หันมาเลี้ยงชันโชงเป็นอาชีพเสริมเพื่อประโยชน์ในการทำสวน โครงสร้างของรังชันโรง ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “ผึ้ง” นักผสมเกสรตัวจิ๋ว

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “ผึ้ง” นักผสมเกสรตัวจิ๋ว

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “ผึ้ง” นักผสมเกสรตัวจิ๋ว เนื่องใน วันผึ้งโลก กันค่ะ “ผึ้ง” สร้างประโยชน์ทางการเกษตรอย่างมาก นอกจากจะช่วยผสมเกสรเพิ่มผลผลิตพืช เช่น เงาะ ลําไย ลิ้นจี่ ส้ม มะพร้าว มะม่วงฯ แล้ว ยังเป็นแมลงเศรษฐกิจ สามารถสร้างรายได้ สร้างอาชีพให้เกษตรกรไทยอีกด้วย เล่าง่ายๆ ได้ใจความกับ 5 เรื่องที่แนะนำด้านล่างเลยค่ะ 1.รู้เรื่องผึ้งและแมลงเศรษฐกิจของไทย คลิกอ่าน : https://bit.ly/3UO51xg 2.ชันโรง(ผึ้งจิ๋ว) นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกร คลิกอ่าน : https://bit.ly/3OhC2Qy 3.ชี้เป้า 5 แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ คลิกอ่าน : https://bit.ly/3IsXRsN 4.การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ คลิกอ่าน : https://bit.ly/4blDg6e 5.ชี้เป้าแหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผึ้งและชันโรง คลิกอ่าน : https://bit.ly/3UWcLhI สามารถเข้าดูเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ >> https://bit.ly/3dFZ7ZA

การแยกขยายรังชันโรง

การแยกขยายรังชันโรง

อุปกรณ์แยกขยายชันโรง ชุดปฏิบัติงาน สำหรับใช้ในการแยกขยายพันธุ์ชันโรง ควรเลือกเสื้อผ้าสีอ่อน ๆ หรือเป็นผ้าร่มหลีกเลี่ยงสีดำ เพราะชันโรงชอบตอมสีดำ จะทำให้เกิดการสูญเสียประชากรของชันโรง การมีหมวกตาข่ายไว้ป้องกันชันโรงตอมและกัด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียงเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

แยกขยายรังชันโรง

แยกขยายรังชันโรง

ช่วงรอยต่อฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว เราสามารถแยกขยายรังชันโรง ได้ไหม? ถาม : ช่วงรอยต่อฤดูฝนเข้าสู่ฤดูหนาว เราสามารถแยกขยายรังชันโรง ได้ไหม?ตอบ : สามารถทำได้ แต่จะต้องเลือกทำการแยกขยายเฉพาะรังที่มีความสมบูรณ์เท่านั้น ถาม : รังสมบูรณ์ เป็นอย่างไร?ตอบ : รังสมบูรณ์ คือรังที่มีกลุ่มไข่หนาแน่น ฟองตัวไม่เหี่ยว มีทั้งสีเข้มและอ่อน คือมีทั้งไข่แก่และไข่อ่อนนั้นเอง นอกจากนั้นแล้ว ภายในรัง ต้องมีการสะสมอาหารพอสมควร ทั้งเกสรและน้ำหวาน หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง และที่สำคัญที่สุดคือ ต้องมีไข่แก่ของนางพญา ภายในรังที่จะทำการแยกด้วย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่

การส่งเสริมเลี้ยงชันโรงสายพันธุ์ตัวใหญ่

การส่งเสริมเลี้ยงชันโรงสายพันธุ์ตัวใหญ่

แผ่นพับที่ 15/2566 การส่งเสริมเลี้ยงชันโรงสายพันธุ์ตัวใหญ่ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมแมลงเศรษฐกิจ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตรhttps://www.facebook.com/agriman.doae.7 ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.