เพลี้ยไฟในมะม่วง (Chilli thrips)

เพลี้ยไฟในมะม่วง (Chilli thrips) ลักษณะการทำลาย การป้องกันกำจัด *ในขณะที่ดอกบานควรหลีกเลี่ยงการใช้สารดังกล่าว เนื่องจากอาจเป็นอันตรายต่อแมลงผสมเกสรได้ จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
เฝ้าระวังโรคและแมลงศัตรูพืชในไม้ผลช่วงอากาศหนาว

เฝ้าระวังโรคและแมลงศัตรูพืชในไม้ผลช่วงอากาศหนาว ลิ้นจี่ ลำไย มะม่วง พยากรณ์อากาศภาคเหนือช่วงเดือน ม.ค.-ก.พ. 2568 ในช่วงกลางเดือนมกราคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ บริเวณภาคเหนือตอนบนมีความกดอากาศสูง หรือมวลอากาศเย็นกำลังแรงที่ปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอุณหภูมิลดลงกับมีลมแรง ระยะนี้จะมีอากาศเย็นถึงหนาว และความชื้นในอากาศยังคงมีสูง เกษตรกรควรระวังและป้องกันการระบาดของโรคราสนิม ราดำราแป้งและเพลี้ยแป้ง การจัดการและแนวทางป้องกัน การตรวจสอบและเฝ้าระวัง : ควรตรวจสอบพืชอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้สามารถพบการระบาดของโรคหรือแมลงตั้งแต่ระยะแรก ซึ่งจะช่วยลดความเสียหาย การป้องกันโดยวิธีธรรมชาติ : การใช้ศัตรูธรรมชาติ เช่น ตัวห้ำ ตัวเบียน หรือการใช้สารป้องกันเชื้อราในการควบคุมโรค การจัดการการชลประทาน : การควบคุมความชื้นในสวน เช่น การใช้ระบบชลประทานที่มีประสิทธิภาพ ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเชื้อรา การใช้สารเคมีอย่างเหมาะสม : ในช่วงที่จำเป็น เช่น การใช้สารฆ่าเชื้อรา หรือสารป้องกันแมลงเพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช การเลือกพันธุ์ที่ทนทาน : พืชที่ทนทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืชจะช่วยลดควา
เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษามะม่วงในช่วงฤดูฝน

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษามะม่วงในช่วงฤดูฝน แนวทางดูแลรักษามะม่วงในช่วงฤดูฝน โรคมะม่วงที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน : โรคแอนแทรคโนสในมะม่วงสาเหตุ : เกิดจากเเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. ลักษณะอาการ : ใบอ่อนมีอาการเป็นจุดฉ่ำน้ำ และจะเปลี่ยนเป็นสีดำ บริเวณที่เป็นแผลจะหดตัวเล็กลงทำให้ใบบิดเบี้ยว แนวทางป้องกัน : ป้องกันด้วยการใช้สารชีวภัณฑ์ฉีดพ่นเพื่อควบคุมโรค อาทิเช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มา หรือเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ
ด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง

การจัดการด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง (Mango Seed Weevil) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย https://www.facebook.com/AgricultureExtension50 ด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง เป็นศัตรูพืชที่พบการทำลายภายในเมล็ดของผลมะม่วงเท่านั้น โดยหนอนจะเจาะเข้าทำลายเมล็ดตั้งแต่ผลอ่อน หนอนจะเจริญเติบโตอยู่ภายในเมล็ดจนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัย และออกจากผลเมื่อเมล็ดมะม่วงเน่าเปื่อยและมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ศัตรูทุเรียนมะม่วงและการควบคุม

ศัตรูทุเรียนมะม่วงและการควบคุม สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430