ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เกร็ดความรู้สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงครั่ง หลังจากปล่อยครั่งไปแล้ว 1 เดือน ครั่งจะขับถ่ายมูลหวาน ออกมาจากช่องขับถ่าย หากเกษตรกรที่ปล่อยครั่งบนต้นจามจุรีที่มีขนาดใหญ่ อาจจะสังเกตการเจริญเติบโตของครั่งได้ยาก ดังนั้นเรามีเทคนิคในการสังเกตครั่งมาฝากกันค่ะ 1.ไม้อาศัยต้นเตี้ย ก็จะเห็นการเจริญเติบโตของครั่งได้ชัดเจน มีการสร้างไขสีขาว และการขับน้ำหวานที่มีสีใสออกมา เมื่อสัมผัสอากาศนาน ๆ ก็จะเริ่มแข็งตัวและเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สีทอง สีน้ำตาล 2.ไม้อาศัยต้นใหญ่และมีความสูงมาก เราอาจจะสังเกตได้ดังนี้ เรียบเรียง :

แมลงศัตรูพืชในฤดูร้อนที่ต้องระวัง ฤดูร้อนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด เช่น คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก บรอกโคลี กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดหอม ฯลฯ ต้องเผชิญกับศัตรูพืชต่าง ๆ เพราะด้วยสภาพอากาศที่มีความชื้นต่ำติดต่อกันยาวนานหลายเดือน นับเป็นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแมลงศัตรูพืช ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพืชที่ปลูกได้ โดยแมลงศัตรูพืชที่พบมากในช่วงอากาศร้อน เช่น เพลี้ยอ่อน ด้วงหมัดผัก หนอนใยผัก และหนอนกระทู้ผัก

ส่งเสริมไม่เผาด้วย 3R Model น้ำหมักย่อยสลายฟาง “จุลินทรีย์หน่อกล้วย” วัตถุดิบ วิธีทำ การนำไปใช้ใช้น้ำหมักชีวภาพอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร ราดลงในแปลงข้าวเพื่อช่วยให้ตอซังข้าวย่อยสลายได้ง่าย หมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วจึงปั่นดินนาทำเทือกเพื่อเตรียมเพาะปลูกข้าวครั้งใหม่ต่อไป เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

แคดเมียน (CADMIUM) คืออะไร??แคดเมียนเป็นแร่โลหะชนิดหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติ โดยอาจมาจากวัตถุต้นกำเนิดดิน การทำเหมืองแร่ โรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหิน การทำแบตเตอรี่ การใช้ปุ๋ย และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเกษตร และสามารถพบแคดเมียมปนเปื้อนได้ในอาหารและน้ำ การปนเปื้อนโลหะหนักในดิน มีสาเหตุมาจากกิจกรรมทางการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น การทิ้งของเสียโดยไม่มีการจัดการอย่างเหมาะสม ทำให้เกิดการตกค้างและสะสมโลหะหนักในดิน เช่น สารหนู แคดเมียม ตะกั่ว ปรอท เป็นต้น

แมลงสิง ศัตรูข้าวระยะออกรวง รูปร่างลักษณะ ลักษณะการทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านอารักขาพืชและดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ขอเชิญชวนร่วมงานรณรงค์สร้างการรับรู้และการเรียนรู้การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Day)  พบกับกิจกรรมที่น่าสนใจภายในงาน สถานีเรียนรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการออกร้านจำหน่ายสินค้าจากเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรต่าง ๆ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัด สุราษฎร์ธานี

ขอเชิญชวนร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไตรมาส 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ภายในงานพบกับ  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่

เชิญชวน เข้าร่วมเวทีรณรงค์สร้างการรับรู้และการเรียนรู้การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(Green Day) โครงการส่งเสริมการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในวันพฤหัสบดี ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ลานวัฒนธรรมตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล ภายในงานพบกับ>>>ฐานเรียนรู้ 5 ฐาน 1.เทคโนโลยีการผลิตข้าวและการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายตอซัง 2.การใช้แหนแดงในนาข้าว 3.การสร้างมูลค่าเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 4.การปลูกพืชหลังนา 5. การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า

เชื้อราไตรโคเดอร์มา Trichoderma spp. เชื้อราไตรโคเดอร์มา เชื้อราชนิดหนึ่งที่ดำรงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากอินทรีย์วัตถุเป็นอาหาร โดยมีคุณสมบัติในการควบคุมและทำลายเชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดิน จึงทำให้พืชมีระบบรากที่สมบูรณ์ แข็งแรง หาอาหารได้มาก ต้นพืชจึงสมบูรณ์ให้ผลผลิตสูง และคุณภาพดี เชื้อราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อราที่ยับยั้งการเจริญเติบโตและทำลายเชื้อราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด ดังนี้ การเข้าทำลายโรคพืชของเชื้อราไตรโคเดอร์มา การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 318 (กันยายน – ตุลาคม 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 318 (กันยายน – ตุลาคม 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 318 (กันยายน – ตุลาคม 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEเทคนิค 3E’s เพื่อการตรวจสอบการดำเนินงาน (Performance Audit) หน้า 4 เกษตรต่างแดนออสเตรเลียขับเคลื่อนภาคการเกษตร ปรับตัวให้เท่าทันสภาพภูมิอากาศด้วย CSA หน้า 7 เกษตรมูลค่าสูงเพิ่มผลผลิตลำไยแปลงใหญ่ตำบลริมปิง จังหวัดลำพูน ด้วยงานวิจัยค่าดัชนีคลอโรฟิลล์ หน้า 9 เกษตรพันธุ์ดีเมล็ดพันธุ์พืชผักพันธุ์ดี สร้างโอกาสเกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มขึ้น หน้า 11 เรื่องจากปกกรมส่งเสริมการเกษตรก้าวสู่วัฒนธรรมองค์กรดิจิทัล มุ่งบริการเกษตรกรด้วยความเป็นเลิศ หน้า 16 เกษตรรู้สู้ภัยพิบัติการใช้ปุ๋ยในนาข้าวที่เหมาะสมตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว หน้า 18 เกษตรรอบทิศจังหวัดอำนาจเจริญจัดหลักสูตรหมอพืชชุมชนพัฒนาเกษตรกรด้านอารักขาพืชครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 สาระเกษตร“Agrivoltalic” ตัวช่วยยกระดับภาคการเกษตรภายใต้แนวคิด ESG หน้า 25 เกษตรตำบล คนปลูกคนอรพรรณ ชุติวศิน สำนักงานเกษตรอำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เกษตรตำบลต้นแบบ จากโครงการผลิตสื่อและขยายผลเกษตรตำบลต้นแบบ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” หน้า 28 เกษตร Next Genการสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเกษตรกรไทยกับญี่ปุ่น ความเป็นมาของการจับมือระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับวิทยาลัยเกษตรกรรมโคอิบูจิ หน้า 30 เกษตร Digitalแนวทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ของกรมส่งเสริมการเกษตร ตอนจบ ในปกหลัง Update สื่อเกษตรดินดี พืชดี เกษตรกรแฮปปี้ ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 317 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 317 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 317 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEข้อพึงระวังในการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม หน้า 5 เกษตรต่างแดน“กว่างโจว” จุดยุทธศาสตร์กระจายสินค้าเกษตรสู่แดนมังกร หน้า 8 สาระเกษตรIPM แนวทางที่ใช่ ใช้วิธีที่ชอบ บริหารจัดการโรคและแมลงศัตรูพืชตลอดห่วงโซ่การผลิต กว่างซีจ้วง ประเทศจีน เน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องจักรกลเสริมประสิทธิภาพการบริหารจััดการ หน้า 11 เรื่องจากปกคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ พร้อมบริการด้านการเกษตร ตอบโจทย์ทุกปัญหา เข้าถึงทุกพื้นที่ หน้า 16 เกษตรรู้สู้ภัยพิบัติควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชในนาข้าวโดยชีววิธี หน้า 18 เกษตรมูลค่าสูงกลุ่มแปลงใหญ่สับปะรดภูแลตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย หน้า 20 เกษตรรอบทิศจังหวัดปทุมธานี ขับเคลื่อนแนวทาง 3R Pathumthani Model เพิ่มธาตุอาหารในดิน ลดปัญหาเผาในพื้นที่การเกษตร หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตร Next Genกรมส่งเสริมการเกษตร X ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รวมพลังส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา Young Smart Farmer ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่การเป็นผู้ประกอบการ ธุรกิจเกษตร ภายใต้หลักการ “ตลาดนำ นวัตกรรมเสริม เพิ่มรายได้” หน้า 25 เกษตรตำบล คนปลูกคนยุวรัตน์ บุญเกษม สำนักงานเกษตรอำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เกษตรตำบลต้นแบบ จากโครงการผลิตสื่อและขยายผลเกษตรตำบลต้นแบบ “ยกระดับเพิ่มมูลค่า ส่งเสริมอาชีพเกษตรกร” หน้า 29 เกษตร Digitalแนวทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ของกรมส่งเสริมการเกษตร ตอนที่ 1 หน้า 31 เกษตรพันธุ์ดีส่งเสริมปลูกกล้วยหอมทองพันธุ์ดี จากเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในปกหลัง Update สื่อเกษตรศัตรูพืชตัวยุ่งกับวัยรุ่นปลูกข้าว ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 316 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 316 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 316 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEการควบคุมภายใน (Internal Control) เครื่องมือสำคัญในการกำกับดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ หน้า 4 เกษตรต่างแดนคงคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยเพิ่มศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดส่งออกสาธารณรัฐประชาชนจีน หน้า 7 เกษตรมูลค่าสูงแปลงใหญ่มังคุด ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี หน้า 9 เกษตรพันธุ์ดีการขยายพันธุ์กล้วยไม้ภาคใต้สู่ต้นแบบการอนุรักษ์กล้วยไม้เพื่อการท่องเที่่ยว หน้า 11 เรื่องจากปกพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญและวันเกษตรกร ประจำปี 2567 ความเป็นสิริมงคล บำรุงขวัญกำลังใจและเริ่มต้นวันเพาะปลููก หน้า 16 เกษตรรู้สู้ภัยพิบัติเทคนิคการคลุุมดินร่วมกับการใช้ระบบน้ำอย่างเหมาะสม หน้า 18 เกษตรรอบทิศจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชู “หนองไทรโมเดล” ปราบหนอนหัวดำมะพร้าว ผสานความร่วมมือชุมชนใช้มาตรการ IPM จัดการศัตรูพืชยั่งยืน หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 เกษตร Next Genประสบการณ์แรงงานภาคการเกษตรของไทยในรัฐอิสราเอลของคุณธัญญ์นลิน กรัดเฉยดี หน้า 25 เกษตรตำบล คนปลูกคนมาศวิภา เตโช สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เกษตรตำบลต้นแบบ จากโครงการผลิตสื่อและขยายผลเกษตรตำบลต้นแบบ “มองหาโอกาสส่่งเสริมสินค้าเกษตรพื้นถิ่นให้เป็นที่รู้จักระดับประเทศ” หน้า 28 สาระเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตรจัดงาน Field Day ประจำปี 2567 ถ่ายทอดความรู้ผลงานวิจัยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับมันสำปะหลังอินทรีย์ ณ แปลงเกษตรกรต้นแบบตำบลนาคาย อำเภอตาลสุม จังหวัดอุุบลราชธานี หน้า 30 เกษตร Digitalสถิติในงานส่งเสริมการเกษตร ในปกหลัง Update สื่อเกษตรส้มเช้ง ชวนอ่าน แผ่นพับความรู้ทางการเกษตร ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 315 (มีนาคม – เมษายน 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 315 (มีนาคม - เมษายน 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 315 (มีนาคม – เมษายน 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEทำความรู้จัก กับ Individual Development Plan : IDP หน้า 4 เกษตรต่างแดนการส่งเสริมและผลักดันสินค้าเกษตรไทย ในตลาดส่งออกญี่ปุ่น หน้า 6 เกษตรมูลค่าสูงแปลงใหญ่มะพร้าวน้ำหอม ตำบลจอมปลวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม หน้า 8 เกษตร Digitalมารู้จักข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Data) ของกรมส่งเสริมการเกษตร หน้า 11 เรื่องจากปกการปรับตัวของเกษตรกรต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ หน้า 16 เกษตรรู้สู้ภัยพิบัติถึงเวลาอารักขาพืช เฝ้าระวังโรคและแมลงศัตรูพืชสำคัญ ช่วงระยะการเติบโตตลอดเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2567 หน้า 18 เกษตรรอบทิศจังหวัดพังงา ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพปาล์มน้ำมัน อย่างยั่งยืนสู่่มาตรฐาน RSPO หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 เกษตร Next Genนวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการต่อยอดธุรกิจ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสู่ผู้ประกอบการ เพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตครัวเรือนของเกษตรกรอย่างยั่งยืน หน้า 25 เกษตรตำบล คนปลูกคนทวีศิลป์ ศรีสุรักษ์ สำนักงานเกษตรอำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ เกษตรตำบลต้นแบบ จากโครงการผลิตสื่อและขยายผลเกษตรตำบลต้นแบบ “ขับเคลื่อนงานเกษตร สร้างระบบเศรษฐกิจในชุมชน” หน้า 28 สาระเกษตร“ข้าวไร่ดอกข่าพังงา” ข้าวไร่พันธุ์พื้นเมืองจังหวัดพังงา สู่วัตถุดิบสำคัญในเมนูอาหารภัตตาคาร หน้า 30 เกษตรพันธุ์ดีมะขามเปรี้ยวฝักใหญ่ พืชเศรษฐกิจสร้างรายได้ โตไว ทนแล้ง ในปกหลัง Update สื่อเกษตรรับมือภัยแล้งอย่างมั่นใจกับชุดสื่อ “การปลูกพืชตามสถานการณ์ในช่วงฤดูแล้ง” ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 314 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 314 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 314 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน บริหารพัสดุและทรัพย์สินอย่างถูกต้อง หน้า 4 เกษตรต่างแดนกรอบความร่วมมือ MELA (The Mekong Extension Learning Alliance) หน้า 6 เกษตรมูลค่าสูง“กล้วยหอมทองปทุม” สินค้า GI จากแปลงใหญ่กล้วยหอมทอง ตำบลนพรัตน์ หน้า 8 เกษตร Digitalการยกระดับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ตอนที่ 2 (ตอนจบ) หน้า 11 เรื่องจากปก7 ประเด็นท้าทาย ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2567 ของกรมส่งเสริมการเกษตร หน้า 16 เกษตรรู้สู้ภัยพิบัติ6 ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกร ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน้า 18 เกษตรรอบทิศศพก.อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ต้นแบบการใช้ “ก้อนนพคุณ ” ในการผลิตพืชเพื่อเพิ่มปริมาณและพัฒนาคุณภาพผลผลิต หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 เกษตร Next GenSmart Farmer Model ผู้ขับเคลื่อนพัฒนาเพิ่มมูลค่ามังคุดเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของมังคุดชุมพร หน้า 25 เกษตรตำบล คนปลูกคนณัฏฐ์พณิชา สุภานันท์ สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน สุดยอดเกษตรตำบลต้นแบบ จากโครงการผลิตสื่อและขยายผลเกษตรตำบลต้นแบบ “เกษตรสายดอยเรียนรู้ปรับเปลี่ยน สู่ความยั่งยืน” หน้า 28 สาระเกษตรการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร ในโรงเรียนเกษตรศาสตร์อนุสรณ์ หน้า 30 เกษตรพันธุ์ดีแนะนำต้นพันธุ์มันสำปะหลัง 3 สายพันธุ์แกร่ง ต้านทานโรคใบด่างมันสำปะหลัง พร้อมเร่งขยายท่อนพันธุ์ดีสู่เกษตรกร สู่ทั่วประเทศ ในปกหลัง Update สื่อเกษตรส้มเช้งชวนชมสื่อ “มันสำปะหลัง” ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี