ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

“GOOD & FOOD SECURITY” ไข่ผำ สุขภาพที่ดีและความมั่นคงทางอาหาร ไข่ผำ หรือ ไข่น้ำไขผำ เป็นพืชน้ำพื้นบ้านที่พบได้ตามห้วย หนอง คลอง บึง ลักษณะเป็นเม็ดสีเขียวขนาดเล็ก มีชื่อว่า “กรีนคาเวียร์” และเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการด้านโปรตีนสูง รสชาติรสชาติของไข่ผำจะมีรสจืด เคี้ยวมัน เพราะเนื้อสัมผัสกรุบ ๆ คล้ายไข่ปลา

รู้หรือไม่! กรมส่งเสริมการเกษตร รณรงค์ให้เกษตรกร “หยุดเผาในพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อลดผลกระทบจากการเผา ผ่าน โมเดล 3R” โมเดล 3R มีอะไรบ้าง และเราสามารถจัดการนาข้าวหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อลดการเผา และสร้างรายได้ได้อย่างไร สามารถเข้าดูเอกสารได้ตามด้านล่างค่ะ เคล็ด(ไม่)ลับ หยุดเผาพื้นที่เกษตรกรรมด้วยวิธีการที่ยั่งยืน คลิกอ่าน : https://bit.ly/3CAPbkd การจัดการนาข้าวหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อลดการเผา และสร้างรายได้ คลิกอ่าน

แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในมันสำปะหลัง เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังข้ามแล้ง มีสภาวะที่อากาศร้อน แห้งแล้ง ฝนทิ้งช่วง เป็นสภาพที่เหมาะต่อการระบาดของไรแดงมันสำปะหลัง ไรแดงหม่อน หรือไรแดงมันสำปะหลัง (Mulberry red mite : Tetranychus truncatus Ehara) : เป็นศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของมันสำปะหลัง ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ที่บริเวณใต้ใบและสร้างเส้นใยอยู่เหนือผิวใบบริเวณที่ไรดูดทำลายอยู่ ผลของการดูดกินน้ำเลี้ยงของไรตรงบริเวณใต้ใบ มีผลทำให้หน้าใบเกิดจุดประด่างขาว โดยเฉพาะตามแนวเส้นใบ

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรพื้นที่ 4 โทรศัพท์ 0 2441 3705

วันที่ 22 มกราคม 2568 ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 5 จังหวัดบุรีรัมย์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 1,173 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

หยุดเผาได้ 5 ดี ผลกระทบจากการเผา ด้านสุขภาพอนามัยการเผา ทำให้เกิดฝุ่น ควัน และก๊าซพิษเป็นอันตรายต่อชีวิต ด้านการเกษตร ด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย จัดทำโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 3 จังหวัดระยอง

โรคต้นแตกยางไหลในเมล่อน สาเหตุจากเชื้อรา : Mycosphaerella citrulline และ Didymella sp. ช่วงการระบาด : ระบาดมากในช่วงฤดูฝน ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ : แผลจะฉ่ำน้ำ เป็นยางเหนียวสีน้ำตาลแดงที่บริเวณโคนต้น ลำต้น และก้านใบ เมื่อแผลแห้งจะเป็นจุดสีดำเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วบริเวณแผล แนวทางป้องกัน/แก้ไข นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งสาเหตุที่สำคัญ

การใช้ปุ๋ยในนาข้าวที่เหมาะสมตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. ระยะการเจริญเติบโตของข้าว มีความต้องการอาหารแตกต่างกัน ดังนี้ ระยะข้าวงอก (ระยะ 0-1)ถึงระยะกล้า ต้นข้าวจะใช้อาหารที่สะสมในเมล็ดตั้งแต่ข้าวเริ่มงอก จนถึงต้นกล้าอายุ 14-20 วัน ระยะข้าวกล้า (ระยะ 1-2)ต้นข้าวเริ่มดูดธาตุอาหารผ่านราก ต้องบำรุงด้วยปุ๋ยที่มีธาตุอาหารไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 318 (กันยายน – ตุลาคม 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEเทคนิค 3E’s เพื่อการตรวจสอบการดำเนินงาน (Performance Audit) หน้า 4

สารเคมีเป็นทางเลือกหนึ่งที่เกษตรกรนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง ดังนั้น เกษตรกรจะต้องคำนึงถึงการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย โดยใช้สารเคมีตรงชนิดกับศัตรูพืช ใช้ถูกอัตรา ใช้ถูกระยะเวลา และใช้ให้ถูกวิธี เกษตรกร…ต้องรู้ กลไกการเข้าทำลายสารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืชคลิกอ่าน : https://bit.ly/474wn71 4 ขั้นตอน การผสมสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้ถูกวิธีคลิกอ่าน : https://bit.ly/3t1Wfl6 คู่มือการตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในผลผลิตการเกษตรคลิกอ่าน : https://bit.ly/42rFVJE

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 303 (มีนาคม – เมษายน 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 303 (มีนาคม – เมษายน 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร นาขาวัง กลุ่มแปลงใหญ่ข้าวเขาดิน หมู่ที่ 4 ตำบลเขาดิน อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา หน้า 6 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ การขยายพันธุ์พืชและแหล่งพืชพันธุ์ดี หน้า 8 เกษตร Next Genโครงการดี ๆ เพื่อพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ สู่ผู้ประกอบการชั้นนำ “โครงการพัฒนา Smart Farmer ผู้ประกอบการต้นแบบเพื่่อยกระดับเกษตรกร เป็นผู้ประกอบการเกษตรชั้นนำ หรือ Agri BIZ Idol Development Project” หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรเปิดตัว สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่่อการเกษตร โฉมใหม่ รับฟังข่าวสารทางการเกษตรก่อนใครได้ ทุกที่ ทุกวัน ทุกเวลา หน้า 14 เรื่องจากปกแนวทางการบริหารจัดการผลไม้ภาคตะวันออก และมาตรการ Zero – COVID สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ หน้า 18 เกษตรรอบทิศองุ่นเกาะกลาง ปลอดภัย รสชาติดี ต้องที่นี่ เกาะยาว พังงา หน้า 20 เกษตร Storyณิชกรข้าวแตน เมืองมีน สร้างรอยยิ้ม สร้างรายได้ สร้างความสุขของชุมชน หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่ผลสำเร็จโครงการพัฒนาธุรกิจบริการดินและปุ๋ยเพื่่อชุุมชน (One Stop Service) ช่วยเกษตรกรลดต้นทุนค่าปุ๋ยเคมี ได้กว่า 200 ล้านบาท หน้า 27 เกษตร Digitalการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในงานส่งเสริมการเกษตร หน้า 29 เกษตร Field tripจิบชา พาลอดอุโมงค์ไผ่ เรียนรู้การปลูกไผ่เศรษฐกิจ ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การเกษตรจังหวัดน่าน Special31-32 ห้ามพลาด!!! งาน Field Day ปี 2565 ถ่ายทอดความรู้แบบเห็นของจริง 33-34 เตรียมความพร้อม เอกสารหลักฐานสำหรับ ยื่นขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร จับตาภัยเกษตรในปกหลัง เฝ้าระวังการระบาดของหนอนเจาะเมล็ดทุเรียนปกหลัง มังคุดผลเล็ก “ภาคตะวันออก” รสเข้มสุดฟิน อร่อยพอดีคำ ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 302 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 302 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร การแปรรูปกาหยู (เม็ดมะม่วงหิมพานต์) วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเกาะพยาม ตำบลเกาะพยาม อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง หน้า 6 เกษตร FocusQuestion & Answer Doae e-Leaning กับการพัฒนาบุคลากรกรมส่งเสริมการเกษตรแบบ NEXT STEP หน้า 8 เกษตร Next Genวันยุวเกษตรกรโลก 2564 : Global 4-H Day 2021 มุ่งมั่นการพัฒนาเยาวชนภาคการเกษตรสู่การพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตรพร้อมส่งมอบต้นกล้ากระท่อมพันธุ์ดี หน้า 14 เรื่องจากปกDOAE NEXT STEP ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตรวิถีใหม่ นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้าถึงเกษตรกร หน้า 18 เกษตรรอบทิศ“สวนถุงแป้ง” สวนส้มแห่งเดียวในจังหวัดพังงา เกษตรกรยุคใหม่ วิถี New Normal หน้า 20 เกษตร Storyเพลิน สแนคกล้วยหอมทอง อร่อยเพลิน จนวางไม่ลง หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่นวัตกรรมการเลี้ยงจิ้งหรีดแนวตั้งด้วยระบบอัตโนมัติ หน้า 26 เกษตร Digitalก้าวสู่องค์กรดิจิทัลด้วยการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signature หรือ e-Signature) หน้า 28 เกษตร Field tripสัมผัสบรรยากาศสุดชิค ครบทั้งความรู้และเพลิดเพลินกับธรรมชาติ ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ Specialหน้า 31-32 เกษตรกรยุคใหม่ ร่วมใจหยุดเผา ด้วย 9 ทางเลือกจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร หน้า 33-34 เตรียมพร้อมรับมือ ควบคุมและป้องกันทุเรียนอ่อนภาคตะวันออก จับตาภัยเกษตรในปกหลัง โรคใบร่วงยางพาราชนิดใหม่ ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 54 ฉบับที่ 301 (กันยายน – ตุลาคม 2564)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 54 ฉบับที่ 301 (กันยายน – ตุลาคม 2564)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผล หน้า 7 เกษตรโฟกัส หน้า 10 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตร หน้า 15 เรื่องจากปก หน้า 20 เกษตรรอบทิศ หน้า 24 ชายคา DOAE หน้า 26 เกษตรอัตลักษณ์ หน้า 28 เกษตรมิติใหม่ หน้า 30 เกษตรเชิงพื้นที่ หน้า 32 เกษตรเช็คอิน จับตาภัยเกษตรปกหลัง โรคใบร่วงยางพารา ที่มา : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี