ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เอกสารวิชาการ การปลูกและการขยายพันธุ์มะนาวของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 3 จังหวัดระยอง กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักกับ “คลินิกพืช” หน่วยบริการที่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหาศัตรูพืช และป้องกันกำจัดศัตรูพืชได้อย่างตรงจุด รวมถึงหมอพืชและหมอพืชชุมชน บุคคลที่จะช่วยวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช(เบื้องต้น) ให้แก่เกษตรกรได้ ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้ Q&A คลินิกพืช วินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช แก้ปัญหาศัตรูพืชตรงจุดคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/คลินิกพืช/ คลิกนิกพืชคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/คลินิกพืช-2/ มารู้จัก

หลักการใช้ปุ๋ยเคมีให้มีประสิทธิภาพ การใช้ปุ๋ยเคมีให้มีประสิทธิภาพ ควรใช้ให้ตรงตามความต้องการของพืช และสมบัติของดิน โดยใส่ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้ได้รับธาตุอาหารต่าง ๆ ครบถ้วน ส่งผลให้ผลผลิตสูง และมีคุณภาพดี คงความอุดมสมบูรณ์ของดินในระดับดีเอาไว้ระยะยาว และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ปุ๋ยให้ถูกชนิด การใช้ปุ๋ยให้ถูกอัตรา การใช้ปุ๋ยให้ถูกเวลา การใช้ปุ๋ยให้ถูกวิธี เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

เชิญร่วมงานรณรงค์จำกัดการขยายพันธุ์และลดประชากรของแมลงวันผลไม้ “ดักล่อ” “ห่อผล” “หล่นเก็บ” วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน 2567 ณ ลานวัดชมพูพน ตำบลหนองโสน อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี

หนอนกระทู้หอม กัดกินต้นมันสำปะหลัง คำแนะนำ :1.เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลง ให้เก็บและนำมาทำลาย พร้อมกำจัดวัชพืชในแปลงและรอบแปลง2.ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยเลือกสารชนิดใดชนิดหนึ่ง ผสมน้ำ 20 ลิตร เช่นㆍ คลอแรนทรานิลิโพรล 5.17% SC อัตรา 20 มิลลิลิตรㆍ เดลทาเมทริน 3% EC อัตรา 30

ข่าวประชาสัมพันธ์การขอรับบริการชีวภัณฑ์ สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง ให้บริการชีวภัณฑ์แก่เกษตรกรที่ทำการเกษตร ซึ่งมีความต้องการใช้ชีวภัณฑ์เป็นจำนวนมาก หรือเป็นตัวอย่างในการนำไปทดลองใช้ สามารถติดต่อขอรับหัวเชื้อเพื่อนำไปผลิตขยายเองได้ที่กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง

คำแนะนำการป้องกันกำจัด หนอนกระทู้…ในมันสำปะหลัง หนอนกระทู้ เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด พบหนอนเเข้าทำลายทั้งในพืชผัก พืชไร่ ไม้ผล และไม้ดอก เนื่องจากสภาพอากาศช่วงนี้มีฝนตกและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนเกษตรกรเฝ้าระวังหนอนกระทู้ทำลายพืชได้ ตั้งแต่วัยแรก โดยจะกัดกินใบพืช ก้านใบและต้นอ่อน เนื่องจากหนอนมีขนาดใหญ่และกัดกินใบอย่างรวดเร็ว จึงทำความเสียหายอย่างรุนแรง หากไม่ป้องกันกำจัดอาจไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ คำแนะนำการป้องกันกำจัด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์บริการเกษตรพิรุณราช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ (ตามที่ตั้งแปลง) เรียบเรียงโดย

เตือน “หนอนกระทู้” ระบาดในมันสำปะหลัง แนวทางการป้องกันกำจัด1. เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลงให้เก็บ และนำมาทำลายพร้อมกำจัดวัชพืชที่อยู่ในแปลง และบริเวณรอบแปลง2. ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช หากการระบาดของหนอนลดลงให้ควบคุมด้วยชีวภัณฑ์โดยฉีดพ่นเชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส ทูริงเยนซิส (Bt) อัตรา 80 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 20 ลิตร หลังจากฉีดพ่นสารเคมีแล้ว 15 วัน เรียบเรียงโดย

TikTok เกษตรมาแล้ว เชิญชวนเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร ใช้แผ่นเสียง จากคลิป “เชิญชวนเกษตรกรเเจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร”ในการโพสต์ TikTok ของตนเอง ใช้งานง่าย เพิ่มยอดการเข้าถึง อีกทั้งยังช่วยสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรให้ขยายเป็นวงกว้างมากขึ้น รับชมคลิป คลิก >> https://www.tiktok.com/@kasetserve/video/7375018032810183943?_t=8n8KxPDBTUu&_r=1

การส่งเสริมวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

การส่งเสริมวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

การส่งเสริมวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัจจุบันการประกอบกิจการของวิสาหกิจชุมชนมีความท้าทายมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ ภายในประเทศและระบบเศรษฐกิจโลก วิสาหกิจชุมชนจึงต้องมีการปรับตัวในการผลิตสินค้าให้มีมูลค่าสูงโดยสัมพันธ์กับแนวทาง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ( พ.ศ. 2561 – 2580 ) ที่มุ่งเน้นการพัฒนาและส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากเกษตรชีวภาพ ซึ่งครอบคลุม การทําเกษตรที่อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เกษตรชีวภาพ ปลอดสารพิษ และเกษตรอินทรีย์ รวมถึงการใช้ความหลากหลายทางชีวภาพ ในการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรด้วยกระบวนการทางชีวภาพ เพื่อนําไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้น เรียบเรียง : กลุ่มพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. ที่มา : วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 311 กรกฎาคม-สิงหาคม 2566