ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 770 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดงาน ” วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ” เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา องค์ราชา สืบสาน รักษา ต่อยอด พระบิดาแห่งฝนหลวง

ปุ๋ยไนโตรเจน ทำไมมีหลายสูตรจัง? รูปแบบของไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์กับพืชและดูดใช้งานได้ ประกอบด้วย ปุ๋ยไนโตรเจนที่มักพบในท้องตลาด การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนลงในดินต้องปฏิบัติอย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะการเลือกชนิดของปุ๋ยไนโตรเจน ปริมาณที่ใช้ จำนวนครั้งในการแบ่งใช้ ตลอดจนช่วงเวลาที่เหมาะสมในการใช้ ทั้งนี้ควรคำนึงถึงชนิดของพืช อายุของพืช และชนิดของดินด้วย การใช้ในปริมาณที่มากเกินความต้องการของพืชอาจส่งผลให้เป็นพิษต่อพืช และเป็นการสิ้นเปลือง เพิ่มต้นทุนการผลิต เนื่องจากเกินความสามารถของพืช ในการกักเก็บของดินและการดูดใช้ของพืช จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

เพลี้ยไฟฝ้าย ในพืชตระกูลแตง ชนิดพืชที่อาจเกิดผลกระทบแตงโมและพืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีนและบวบ ปัญหาที่ควรระวังเพลี้ยไฟฝ้าย ระยะการเจริญเติบโตของพืชในช่วงนี้ทุกระยะการเจริญเติบโต ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดอ่อนในระยะแตงโมทอดยอด ทำให้ชะงักการเจริญเติบโตลักษณะอาการที่เกิดจากเพลี้ยไฟฝ้ายเรียกว่า “ยอดตั้ง” หากเพลี้ยไฟฝ้ายระบาดในช่วงอายุ 1

โรคราน้ำค้างในข้าวโพด ระยะการเจริญเติบโตของพืชในช่วงนี้เริ่มปลูก-อายุ ประมาณ 30 วัน (เป็นระยะที่อ่อนแอต่อโรคนี้มาก) ปัญหาที่ควรระวังโรคราน้ำค้าง : เชื้อรา Peronosclerospora sorghi ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1.ควรใช้พันธุ์ต้านทาน และคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น 2.ในแหล่งที่เคยมีการระบาดของโรค หากพบว่ามีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคคืออุณหภูมิต่ำและความชื้นสูง เมื่อข้าวโพด อายุ 5-7 วัน

กระชาย

กระชาย การใช้ประโยชน์สรรพคุณ สารสำคัญ พืชล้มลุกมีเหง้าหรือลำต้นใต้ดินเกาะเป็นกระจุก การขยายพันธุ์ : เหง้า การปลูกยกร่องแปลงกว้าง 80-120 ซม. ใช้ระยะปลูกระหว่างแถวและต้น 25-30 ซม. การดูแลรักษารดน้ำทุก 2-3 วัน/ครั้ง เมื่อได้อายุครบ 1 เดือน ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก การเก็บเกี่ยว ข้อควรระวัง

ธาตุอาหารพืช

ธาตุอาหารพืช ธาตุอาหารพืชที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช มีทั้งหมด 17 ธาตุ ธาตุที่ได้จากอากาศมี 3 ธาตุ ได้แก่ จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

ลิ้นจี่จักรพรรดิฝาง (ลิ้นจี่จักรพรรดิเชียงใหม่) จ.เชียงใหม่ ลิ้นจี่จักรพรรดิฝาง เป็นผลไม้อัตลักษณ์พื้นถิ่นของจังหวัดเชียงใหม่ มากกว่า 60 ปี ด้วยรสชาติหวานอมเปรี้ยว มีกลิ่นหอม เนื้อหนาสีขาวขุ่น ฉ่ำน้ำ ทรงผลคล้ายรูปหัวใจ มีขนาดใหญ่ เปลือกหนาสีแดงอมชมพู จึงเป็นผลไม้ที่ขึ้นชื่อ ปลูกในพื้นที่อำเภอฝาง แม่อาย และอำเภอไชยปราการ ของจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ

มะนาวยักษ์พม่า

มะนาวยักษ์พม่า ผลขนาดใหญ่ ผลดก ให้น้ำเยอะ ลักษณะเด่นมะนาวพม่าหรือมะนาวยักษ์ มีผลขนาดใหญ่คล้ายผลส้มโอ น้ำหนักเฉลี่ยประมาณลูกละครึ่งกิโลกรัม สามารถนำมาคั้นเพื่อรับประทานสด ๆ หรือใช้ปรุงอาหารได้ แต่ไม่ค่อยมีกลิ่นหอม จึงไม่เป็นที่นิยมมากนัก และมีการนำไปปลูกเพื่อเป็นไม้ประดับ ลักษณะต้นเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นสูง ประมาณ 3-5 เมตร การแตกกิ่งไม่ค่อยเป็นระเบียบ การขยายพันธุ์พืชและการดูแลรักษา เกร็ดน่ารู้ใช้ผลเป็นยาช่วยบรรเทาอาการปวดหัว แก้อาเจียน ขับเสมหะ

มะนาวตาฮิติ

มะนาวตาฮิติ มะนาวไร้เมล็ด หรือมีก็น้อยมาก ผลรูปกลมคล้ายหยดน้ำ ผลใหญ่ รสเปรี้ยว ปริมาณน้ำมาก ลักษณะเด่นมะนาวตาฮิติเป็นสายพันธุ์ที่มีถิ่นกำเนิดจากเกาะตาฮิติ รัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา กรมวิชาการเกษตรนำเข้ามาเพื่อศึกษา ปลูก และขยายพันธุ์ พบว่า มะนาวพันธุ์นี้เติบโตได้ดีในทุกภูมิภาคของไทย ผลมีขนาดใหญ่มาก เปลือกหนา เมื่อแก่จัดก็ยังมีสีเขียวเข้มเหมือนเดิม มีน้ำมากกว่ามะนาวชนิดอื่น จึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย จุดเด่นคือผลใหญ่ ให้น้ำมาก

หนอนกินเปลือกต้นมะม่วง

หนอนกินเปลือกต้นมะม่วง

หนอนกินเปลือกต้นมะม่วง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

มวนเขียวดูดไข่

มวนเขียวดูดไข่

มวนเขียวดูดไข่ ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แมลงหางหนีบ

แมลงหางหนีบ

แมลงหางหนีบ ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

78.ด้วงก้นกระดก

78.ด้วงก้นกระดก

ด้วงก้นกระดก ด้วงก้นกระดก ด้วงก้นกระดกพบจำนวนมากกระจายทั่วแปลง คอยกินเพลี้ยและแมลงต่างๆในนาข้าว

ด้วงเต่าสีส้ม

ด้วงเต่าสีส้ม

ด้วงเต่าสีส้ม ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207