ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

2.1 หมวด การเกษตร บล็อกเชนการเกษตร เรื่องย่อ บล็อกเชน (blockchain) เป็นระบบบันทึกรายการธุรกรรมและข้อมูลดิจิทัลแบบไม่มีระบบข้อมูลกลาง ข้อมูลจะถูกเก็บในเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ทำให้ระบบน่าเชื่อถือและปลอดภัยสูง สิ่งนี้เป็นเทคโนโลยีอุบัติใหม่ (emerging technology) ที่เริ่มนำมาใช้ในการเกษตร ซึ่งหนังสือ “บล็อกเชนการเกษตร” จะทำให้เข้าใจบล็อกเชนมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นหลักการทำงาน องค์ประกอบ หรือขั้นตอนการทำงานของบล็อกเชน รวมถึงการนำเทคโนโลยีบล็อกเชนมาสนับสนุนภาคการเกษตร นอกจากนี้ยังมีกรณีศึกษาการใช้บล็อกเชนในบริษัทต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้เห็นภาพรวมของการใช้บล็อกเชนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

8 วิธี รับมือ!! น้ำแล้ง-น้ำเค็ม รุกสวนกล้วยไม้ 1. ตรวจวัดค่าความเค็มของน้ำไม่ให้เกินกว่า 0.75 กรัมต่อลิตร2. สร้างบ่อพักสำรองน้ำ3. รักษาระดับน้ำให้สูงกว่าระดับนอกสวน4. หมั่นตรวจสภาพหัวสปริงเกอร์พร้อมใช้งานแบบประหยัดน้ำ5. ลดอัตราผสมปุ๋ยลงเมื่อน้ำที่ใช้มีความเค็มเพิ่มขึ้น6. เพิ่มปุ๋ยที่มีธาตุอาหารรองแคลเซียมและแมกนีเซียม ช่วยลดพิษเกลือในน้ำเค็มระดับหนึ่ง7. ปรับความเป็นกรดด่างของน้ำให้อยู่ในช่วง pH 5.5-6.58. ใช้เครื่องกรองน้ำแบบ Reverse Osmosis ช่วยกรองเกลือในน้ำได้

ขอเชิญเกษตรกรและผู้สนใจ ฝึกอบรมการผลิตพืชพันธุ์ดี ประจำเดือนมีนาคม 2568 ฟรี วันที่ 10 มีนาคม 2568หลักสูตร การขยายพันธุ์ไผ่ซางหม่น ด้วยวิธีการตอนกิ่งหน่วยงาน : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 6 จังหวัดพิษณุโลกหมายเลขโทรศัพท์ : 0 5590 6220 วันที่ 11 มีนาคม 2568หลักสูตร

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ “มะยงชิด มะปรางหวาน @นครนายก” จังหวัดนครนายกเป็นแหล่งผลิตมะยงชิดที่ขึ้นชื่อของประเทศ มีรสชาติและลักษณะที่โดดเด่น จนได้รับการตั้งชื่อว่า “มะยงชิดนครนายก” และจังหวัดนครนายกกำหนดจัดงาน “มะยงชิด มะปรางหวาน ตระการตา @นครนายก ในวันที่ 6-10 มีนาคม 2568 ณ ลานอเนกประสงค์เขื่อนขุนด่านปราการชล สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก

มะยงชิดนครนายก จ.นครนายก มะยงชิด เป็นผลไม้อัตลักษณ์พื้นถิ่นของจังหวัดนครนายก มีผลใหญ่ รูปไข่ สีเหลืองส้ม รสชาติหวานอมเปรี้ยว มีกลิ่นหอม เนื้อหนา แน่น กรอบ ด้วยจังหวัดนครนายกมีลักษณะ ภูมิประเทศทางตอนเหนือและตะวันออก เป็นภูเขาสูงชัน ติดต่อกับเทือกเขาดงพญาเย็น ทางตอนกลางและใต้เป็นที่ราบอันกว้างใหญ่ มีความลาดเอียงลงมาทางใต้เล็กน้อย เกิดการสะสมตัวของตะกอนที่ถูกพัดพามาโดยน้ำตามความลาดชันของภูเขาโดยสะสมตัวบนหินฐานรากที่เป็นหินปูน ลักษณะของตะกอนชุดนี้ประกอบด้วยดินเหนียวปนทรายสลับกับชั้นกรวด ซึ่งดินในลักษณะนี้มีความพิเศษคือสามารถอุ้มน้ำได้ดี มีช่องว่างของเม็ดดิน

โรคพุ่มไม้กวาดในลำไย (Witches’broom) เชื้อสาเหตุโรค : ไฟโตพลาสมา (Phytoplasma) แมลงพาหะ : เพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล ไรกำมะหยี่ลำไย ลักษณะการทำลาย :เริ่มแรกส่วนที่เป็นตาเกิดอาการใบยอดแตกฝอย มีลักษณะคล้ายพุ่มไม้กวาด ใบมีขนาดเล็กเรียวยาวม้วนบิดเป็นเกลียวมีขนละเอียดปกคลุมแข็งกระด้างไม่คลี่ออก ถ้าเป็นช่อดอกจะแตกเป็นพุ่มฝอยดอกแห้งไม่ติดผล ถ้าไม่รุนแรงก็จะออกช่อชนิดติดใบปนดอกและช่อสั้น ๆ ซึ่งอาจติดผลได้น้อยประมาณ 4-5 ผล ถ้าเป็นโรครุนแรง ดอกลำไยที่เกิดขึ้นจะแตกกิ่งเป็นฝอย

5 ขั้นตอนปลูกต้นไม้

5 ขั้นตอนปลูกต้นไม้ 1.เลือกเมล็ดพืชที่ชอบเลือกพืชหรือดอกไม้ที่อยากปลูก เช่น ผักสวนครัวหรือดอกไม้สวย ๆ 2.เตรียมดินและกระถางเตรียมดินที่อุดมสมบูรณ์และกระถางหรือพื้นที่ปลูกที่มีรูระบายน้ำ 3.ปลูกเมล็ดหรือกล้าลงดินนำเมล็ดหรือกล้าลงดิน โดยเว้นระยะห่างและความลึกตามชนิดของต้นไม้ 4.รดน้ำและดูแลรดน้ำต้นไม้สม่ำเสมอ อย่าให้มากหรือน้อยเกินไป และคอยดูแลไม่ให้มีวัชพืช 5.ใส่ปุ๋ยใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมกับชนิดของพืชเพื่อช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตแข็งแรง เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว

ปุ๋ยโพแทสเซียม (K)

ปุ๋ยโพแทสเซียม (K) 13-0-46ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต (Potassium Niitrate) มีส่วนผสมของไนโตรเจน (N) 13% และโพแทสเซียม (K) 46% ใช้เพื่อเร่งการเติบโตและเปิดตาดอกในพืช เช่น มะม่วง ทุเรียน และลำไย รวมถึงใช้ในระบบการเกษตรต่าง ๆ เช่น ไฮโดรโปนิกส์ และการหยดน้ำ โดยสามารถละลายได้ดีในน้ำและไม่มีสารตกค้าง

ผักปลูกง่ายได้กินใน 60 วัน 4 วัน : ถั่วงอก 7 วัน : เห็ดนางฟ้า ต้นอ่อนผักบุ้ง ต้นอ่อนทานตะวัน 30 วัน : ผักบุ้ง โหระพา แมงลัก กะเพรา สะระแหน่ 40

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ “ข้อสังเกตก่อนซื้อทุเรียน” ในฤดูกาลปกติ ประเทศไทยมีทุเรียนออกสู่ตลาดประมาณเดือน เม.ย.-ก.ย. นอกจากนี้มีเกษตรกรบางส่วนผลิตทุเรียนนอกฤดู ช่วยสร้างรายได้ให้มากขึ้น หลีกเลี่ยงความเสี่ยงราคาผลผลิตตกต่ำในช่วงผลผลิตออกมากตามฤดูกาล โดยพื้นที่ภาคตะวันออกสามารถเก็บเกี่ยวได้ ตั้งแต่เดือน ก.พ.- มี.ค. ส่วนพื้นที่ภาคใต้สามารถเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือ ธ.ค.- ก.พ. 5 ข้อสังเกตก่อนซื้อทุเรียนคลิกอ่าน : https://bit.ly/42Tgsr5 ชาวสวนไม่ตัด ผู้บริโภคไม่ซื้อ ทุเรียนอ่อนคลิกอ่าน

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าสตีธอรัส

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าสตีธอรัส

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าสตีธอรัส จัดทำโดย: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430&ref=page_internal ด้วงเต่าสตีธอรัส ด้วงเต่าตัวห้ำขนาดเล็กประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร ลำตัวมีสีดำและปกคลุมด้วยขนขนาดเล็ก ทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัยตัวเป็นตัวห้ำไรแดง สามารถกินไข่และตัวไรแดงได้หลายร้อยตัว

รู้จักศัตรูธรรมชาติ แมลงวันดอกไม้

รู้จักศัตรูธรรมชาติ แมลงวันดอกไม้

รู้จักศัตรูธรรมชาติ แมลงวันดอกไม้ จัดทำโดย: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430&ref=page_internal แมลงวันดอกไม้ เป็นศัตรูธรรมชาติอีกชนิดที่ ในระยะตัวหนอนเป็นตัวห้ำ กินเหยื่อได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับชนิดของแมลงวันดอกไม้ โดยเฉพาะเพลี้ยอ่อน จะเป็นอาหารที่พวกมันชอบมาก ลักษณะเด่นของแมลงวันดอกไม้ตัวเต็มวัย ตรงที่ลำตัวมักมีจุด หรือ ลายเส้น สีเหลืองสีน้ำตาลและสีดำ ตัวหนอนมีสีเขียว น้ำตาล เข้าดักแด้คล้ายหยดน้ำบริเวณใบพืช

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าลายสมอ

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าลายสมอ

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าลายสมอ จัดทำโดย: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430&ref=page_internal ด้วงเต่าลายสมอ เป็นแมลงที่อยู่ในกลุ่มด้วง เป็นด้วงเต่าตัวห้ำอีกชนิดนึงที่เราสามารถพบเห็นได้บ่อย เวลาที่พืชมีเพลี้ยอ่อนระบาด

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าลายหยัก

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าลายหยัก

รู้จักศัตรูธรรมชาติ ด้วงเต่าลายหยัก จัดทำโดย: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430&ref=page_internal ด้วงเต่าลายหยัก (Menochilus sexmaculatus) มิตรตัวน้อยที่คอยกินเพลี้ยอ่อนให้เรา ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยสามารถกินเพลี้ยได้หลายชนิดโดยเฉพาะเพลี้ยอ่อน ตัวอ่อนด้วงเต่าที่ออกจากไข่ใหม่ๆ จะเจาะและดูดอาหารจากเหยื่อ เมื่อตัวอ่อนเริ่มโตขึ้นจะสามารถกัดและเคี้ยวเหยื่อได้ทั้งตัว

แหนแดง

แหนแดง

แหนแดง ภาพจาก: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207