ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ฤดูหนาวปลูกผักอะไรดี ? ? (ช่วงเดือนตุลาคม-มกราคม) พืชผักที่เจริญเติบโตได้ดีในฤดูหนาว ได้แก่ ผักสลัด กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก กุยช่าย ขึ้นฉ่าย แครอท กระเทียม หอมแดง มะเขือเทศ ถั่วลันเตา และพริกยักษ์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พืชผัก เป็นพืชสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี โดยทั่วไปแล้ว

วันที่ 27 ธันวาคม 2567 ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 5 จังหวัดบุรีรัมย์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 2,913 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

กลุ่มพืชและชนิดพืชแนะนำที่สามารถเพาะปลูกได้ในช่วงฤดูแล้ง กลุ่มพืชไร่ จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ กลุ่มพืชสมุนไพร จำนวน 1 ชนิด ได้แก่ กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ กลุ่มพืชผัก จำนวน 31 ชนิด ได้แก่ เรียบเรียงโดย

เกษตรกรไทยร่วมใจ หยุดเผา ในพื้นที่การเกษตรอย่างยั่งยืนด้วย 3R Model : 3 เปลี่ยน 1.เปลี่ยนพฤติกรรม Re-Habitปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกพืช ชนิดเดิมแบบไม่เผา โดยการนำเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการเก็บเกี่ยว และส่งเสริมการแปรรูป เพิ่มมูลค่าเศษวัสดุทางการเกษตร เพื่อลดการเผา 2.เปลี่ยนชนิดพืช Replace with High Value Cropsปรับเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูกบนพื้นที่สูง จากพืชไร่เป็นไม้ผล

46-0-0ยูเรีย คือ มีไนโตรเจนรูปยูเรียเท่ากับ 46% โดยไม่มีธาตุอาหารรอง-เสริม อื่น ๆ ตอบสนองต่อพืชได้เร็ว มีธาตุไนโตรเจนสูง ทำให้พืชโตเร็ว ใบเขียวเข้ม ให้ปริมาณไนโตรเจนต่อน้ำหนักปุ๋ยเคมีมากที่สุด แต่มีข้อจำกัด คือ ถ้าใส่มากเกินความต้องการของพืช จะทำให้ต้นพืชมีอาการอวบน้ำ และอาจเกิดโรคได้ง่าย 27-0-0แคลเซียมแอมโมเนียมไนเตรท คือ มีรูปปุ๋ยไนโตรเจนทั้ง 2 รูปแบบ

แหนแดง พืชน้ำมหัศจรรย์ แหนแดง สายพันธุ์ไมโครฟิลล่า (MICROPHYLLA)เปรียบเสมือนโรงงานผลิตปุ๋ยไนโตรเจนทางชีวภาพ โดยผ่านกระบวนการตรึงไนโตรเจน จากอากาศของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (CYANOBACTERIAL) ที่อยู่อาศัยอยู่ในโพรงใบของแหนแดง เมื่อนำแหนแดงไปตากแห้ง (น้ำหนักแห้ง 150 กิโลกรัม) มีปริมาณไนโตรเจน 6.0-4.5 กิโลกรัม เป็นทางเลือกสำหรับใช้ทดแทนปุ๋ยเคมีในแปลงผักอินทรีย์ วิธีการขยายพันธุ์ ประโยชน์ของแหนแดง เรียบเรียง : สำนักงานเกษตรอำเภอวังน้ำเย็น

แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในพืชตระกูลแตง ในช่วงที่อุณหภูมิลดต่ำลง เตือนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตง อาทิ แตงกวา แตงโม เมล่อน แคนตาลูป ฟักทอง มะระจีน และบวบ แมลงวันหนอนชอนใบมักพบตัวหนอนชอนไชอยู่ในใบ ทำให้เกิดรอยเส้นสีขาวคดเคี้ยวไปมา เมื่อนำใบพืชมาส่องดูจะพบหนอนตัวเล็กสีเหลืองอ่อนโปร่งใสอยู่ภายในเนื้อเยื่อใบพืช กรณีระบาดรุนแรง จะทำให้ใบเสียหายและร่วงหล่น ซึ่งอาจมีผลต่อผลผลิตได้ การป้องกันกำจัดแมลงวันหนอนชอนใบให้เกษตรกรเก็บเศษใบพืชที่ถูกทำลายนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก เนื่องจากหนอนชอนใบและดักแด้หนอนชอนใบที่อาศัยอยู่ตามเศษใบพืชบนพื้นดินจะถูกทำลายไปด้วย จากนั้นให้เกษตรกรพ่นด้วยสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพ ด้วงเต่าแตงแดงจะพบตัวด้วงเข้าทำลายแทะกัดกินใบยอด หากระบาดรุนแรง

ขอชวนพี่น้องเกษตรกรเตรียมต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ตั้งแต่วันที่ 1- 30 มกราคม 2568 ทั้งนี้ หากวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ไม่มาต่อทะเบียนเป็นระยะเวลา 2 ปี ติดต่อกัน จะถูกเพิกถอนทะเบียน สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก 3 เอกสาร ด้านล่างค่ะ การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนคลิกอ่าน : https://bit.ly/4gfJdEg การต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชนhttps://bit.ly/3ORv0B6

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำหนังสือใหม่ เดือนธันวาคม 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

การจัดการนาข้าวหลังเก็บเกี่ยวเพื่อลดการเผา และสร้างรายได้ การใช้ฟางข้าวและตอซังข้าวเป็นวัสดุทางการเกษตร การปลูกพืชผักอายุสั้นในนาหลังการเก็บเกี่ยว เพิ่มรายได้ระยะสั้นจากการขายผลผลิต เช่น โมเดล 3R เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว

76. สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดไรศัตรูพืช

76. สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดไรศัตรูพืช

สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดไรศัตรูพืช เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการจัดการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

74. สารเคมีกำจัดแมลง “ยาน็อค”

74. สารเคมีกำจัดแมลง "ยาน็อค"

สารเคมีกำจัดแมลง “ยาน็อค” จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207 ยาน็อค คือ สารกำจัดแมลงประเภทสัมผัส หรือถูกตัวตาย ต้องฉีดให้โดนตัวแมลง โดยสารนี้จะซึมผ่านทางผิวหนัง ลำตัว และท่อหายใจ ทำให้แมลงตาย เหมาะสำหรับใช้ฉีดพ่นช่วงฤดูฝน ตัวอย่างสารประเภทนี้ เช่น สารกำจัดแมลง กลุ่ม 3 ไซเปอร์เมทริน ไบเฟนทริน อีโทเฟนพรอก เดลทาเมทริน แลมบ์ดาไซฮาโลทริน สารกำจัดไร กลุ่ม 10 เฮกซี่ไทอะซอกซ์ สารกลุ่ม 12 โพรพาร์ไกต์ ข้อดีของสารประเภทนี้ (1) สารออกฤทธิ์เร็ว (2) แมลงตายไวรวดเร็วที่สุด (3) ระยะปลอดฝนสั้น 1 – 2 ชั่วโมง (4) ใช้พ่นช่วงฤดูฝน ข้อเสียของสารประเภทนี้ (1) ต้องพ่นสารให้โดนตัวแมลงเท่านั้น (2) แมลงที่ไม่โดนสารจะไม่ตาย (3) สารเสื่อมฤทธิ์เร็วหรือสลายตัวเร็ว (4) แมลงดื้อยาเร็ว

71. สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดเพลี้ยไฟ

71. สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดเพลี้ยไฟ

สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดเพลี้ยไฟ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการจัดการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

67. สารเคมีกำจัดหนอนผีเสื้อที่มีประสิทธิภาพ

67. สารเคมีกำจัดหนอนผีเสื้อที่มีประสิทธิภาพ

สารเคมีกำจัดหนอนผีเสื้อที่มีประสิทธิภาพ สารเคมีกำจัดแมลง โดยเฉพาะกลุ่มกำจัดหนอนผีเสื้อศัตรูพืช ปัจจุบันมีมากมายหลายกลุ่มให้เกษตรกรได้เลือกซื้อใช้กันดังนั้นเกษตรกรควรศึกษาสารเคมีนั้นก่อนที่จะตัดสินใจซื้อและควรอ่านฉลากให้เข้าใจก่อนใช้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด หยุดการระบาดของแมลง แถมยังสามารถช่วยลดต้นทุนได้ และที่สำคัญปลอดภัยต่อตัวท่านเอง และสังคมส่วนรวมด้วยนะครับ1…เลือกร้านที่มีมาตรฐาน2…เลือกสารที่มีคุณภาพ3…เลือกสารตรงกับสัตรูพืช4…คำนึงถึงความปลอดภัยต่อตนเอง ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207